Page 42 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       33


















                             ต้นกระถินออสเตรเลีย อายุ 3 เดือน               ต้นกระถินออสเตรเลีย อายุ 1 ปี


                       ภาพที่ 8 ต้นกระถินออสเตรเลียที่ปลูกในพื้นที่ดินเค็มจัด อายุ 3 เดือน และ 1 ปี

                       ตารางที่ 4 กิจกรรมด้าเนินงานมาตรการวิธีพืช ตามระดับความเค็ม

                         ระดับความ                    กิจกรรม                     หน่วย       เปูาหมาย

                            เค็ม
                           เค็มจัด    - ปลูกไม้ยืนต้นทนเค็ม (กระถินออสเตรเลีย)     ต้น         52,000

                        เค็มปานกลาง  - ปลูกไม้ยืนต้นทนเค็ม (กระถินออสเตรเลีย)      ต้น         60,000

                                      - ปลูกไม้ผลทนเค็ม                            ต้น         3,000
                                      - ปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา                     ต้น         7,500

                                      - ปลูกยูคาลิปตัสบนพื้นที่ดอน/ที่สูง          ต้น         4,800

                                      - ปลูกหญ้าแฝก                               กล้า        200,000
                                      - ปลูกพืชปุ๋ยสดปรบปรุงบ้ารุงดิน(ปอเทือง)     ไร่         1,500

                          เค็มน้อย    - ปลูกไม้ผลทนเค็ม                            ต้น          500

                                      - ปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา                     ต้น         7,000
                                      - ปลูกยูคาลิปตัสบนพื้นที่ดอน/ที่สูง          ต้น         2,000

                                      - ปลูกหญ้าแฝก                               กล้า        180,000

                                      - ปลูกพืชปุ๋ยสดปรบปรุงบ้ารุงดิน(ปอเทือง)     ไร่          500


                                   2) การปลูกไม้ผลทนเค็ม
                                   การปลูกไม้ผลทนเค็มเป็นการปลูกเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมในบริเวณพื้นที่ที่สามารถ

                       แพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มได้ โดยให้รากต้นไม้ช่วยดูดซึมน้้าฝนส่วนเกินเอาไว้ไม่ให้เหลือไปละลายเกลือ

                       ออกมา ต้องใช้ไม้ผลทนเค็มที่สามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ดินเค็มปานกลางถึงดินเค็มน้อย ทนแล้ง
                       โตเร็ว รากลึก เช่น มะพร้าวน้้าหอม มะม่วง มะขามเทศ และมะขามเปรี้ยว เกษตรกรสามารถ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47