Page 69 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 69

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       52







                                  7) แผนการใช้ที่ดินที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อสถานการณ์ปัจจุบันมีการ
                       เปลี่ยนแปลงไปหรือได้รับข้อมูลใหม่ การติดตามการประเมินผลถูกน้ามาใช้วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
                       ที่เกิดขึ้นและปัญหาที่ท้าให้ต้องปรับปรุงแผนใหม่ ดังนั้นการวางแผนจึงเป็นกระบวนการไม่หยุดนิ่ง
                       หมุนเวียนอยู่ตลอดเวลา

                                  8) แผนการใช้ที่ดินต้องมีลักษณะผสมผสานแผนการใช้ที่ดินที่ก้าหนดออกมาจะต้อง
                       มีหลายทางเลือก ที่ดินเหมาะส้าหรับการใช้ที่ดินประเภทหนึ่ง อาจเหมาะส้าหรับการใช้ที่ดินอีก
                       ประเภทหนึ่งก็ได้ การมีทางการใช้ประโยชน์ที่ดินหลายๆ ทางจะท้าให้สามารถตอบสนองความ
                       ต้องการต่อการใช้ที่ดินได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

                            3.2.3 ขั นตอนการวางแผนการใช้ที่ดิน
                                ส้าหรับขั้นตอนการวางแผนการใช้ที่ดิน บัณฑิต (2535) ได้ก้าหนดขั้นตอนไว้ 6 ขั้นตอน
                       ตามรายละเอียดดังนี้
                                  ขั นตอนที่ 1 การวางแผนโครงการเพื่อจัดท้าแผน ในการวางแผนการใช้ที่ดินโครงการใด

                       โครงการหนึ่ง จ้าเป็นต้องมีการวางแผนในการด้าเนินการอย่างเหมาะสม โดยมีการปรึกษากันระหว่าง
                       บุคคลที่เกี่ยวข้องจะต้องมีรายละเอียดที่จะต้องด้าเนินการ ดังนี้
                                    1) ก้าหนดพื้นที่การวางแผน ซึ่งประกอบไปด้วยที่ตั้ง ขนาด ขอบเขตของพื้นที่

                       การเข้าถึงพื้นที่ และเหตุผลในการเข้าไปด้าเนินการวางแผนพื้นที่ที่ก้าหนดไว้ เผื่อให้ผู้ที่มีอ้านาจ
                       ตัดสินใจในการอนุมัติโครงการ มีข้อมูลเพียงพอในการอนุมัติโครงการ
                                    2)  ก้าหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการให้มีความชัดเจนเพื่อการ
                       ด้าเนินงานตามกิจกรรมอย่างถูกต้องที่สุด ผลจากการวางแผนจะต้องตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และ
                       เป้าหมายที่ก้าหนดไว้

                                    3) ก้าหนดกรอบของแผนและระดับของการวางแผน  จะต้องวางกรอบโครงร่าง
                       ของแผน โดยระบุถึงผลที่คาดว่าจะได้รับบุคคลผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ ความละเอียดของเนื้อหา
                       การวางแผน ซึ่งจะท้าให้ระดับของการวางแผนการใช้ที่ดินมีความถูกต้องมากที่สุด

                                    4) ก้าหนดช่วงระยะเวลาในการด้าเนินงานที่แน่นอน เพื่อการแก้ไขปัญหาใน
                       ภายหลังที่ทันต่อเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
                                    5) จัดท้างบประมาณและแรงงานในการด้าเนินการโดยมีการแจกแจง
                       รายละเอียดที่ชัดเจนและเหมาะสมมากที่สุด

                                  ขั นตอนที่ 2 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจน
                       ความต้องการของท้องถิ่น และนโยบายของรัฐ ข้อมูลทางกายภาพที่ศึกษา ได้แก่ สภาพภูมิประเทศ
                       สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้้า ทรัพยากรป่าไม้ สภาพการใช้ที่ดิน เป็นต้น ส่วนข้อมูล
                       ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ศึกษา ได้แก่ ลักษณะทั่วไปของประชากร การถือครองที่ดิน

                       เพื่อการเกษตร ปริมาณและสภาพผลผลิตทางการเกษตร แรงงานที่ใช้ในการเกษตร การศึกษา ฯลฯ
                       ซึ่งจ้าเป็นจะต้องศึกษาอย่างละเอียด เพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ สภาพปัญหา สาเหตุของ
                       ปัญหาจะได้น้ามาพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไข การศึกษาความต้องการท้องถิ่น และพัฒนาการ
                       ของท้องถิ่น จะท้าให้นักวางแผนทราบถึงความต้องการของบุคคลภายในชุมชนนั้น เพื่อใช้ใน

                       การพิจารณาก้าหนดแผนการพัฒนาให้ตอบสนองความต้องการของกลุ่มคนนั้นๆ แผนที่ก้าหนดขึ้น
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74