Page 65 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       48







                       พันธุ์ปลาบางชนิดจ้านวนสัตว์น้้าลดลงท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว การอนุรักษ์น้้า
                       ดังได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า น้้ามีความส้าคัญและมีประโยชน์มหาศาล เราจึงควรช่วยแก้ไขปัญหาน้้าเสีย
                       หรือการสูญเสียทรัพยากรน้้าด้วย
                                  1.4)  การอนุรักษ์ทรัพยากรน้้า

                                      (1) การใช้น้้าอย่างประหยัด นอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้้าลงได้แล้ว
                       ยังท้าให้ปริมาณน้้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่งน้้ามีปริมาณน้อย และป้องกันการขาดแคลนน้้าได้ด้วย
                                      (2) การสงวนน้้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้้ามากเหลือใช้ควรมีการเก็บน้้า
                       ไว้ใช้ เช่น การท้าบ่อเก็บน้้า การสร้างโอ่งน้้า ขุดลอกแหล่งน้้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้้า และระบบ

                       ชลประทาน
                                      (3) การพัฒนาแหล่งน้้า ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้้า จ้าเป็นที่จะต้องหาแหล่งน้้า
                       เพิ่มเติม เพื่อให้สามารถมีน้้าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรือนและในการเกษตรได้อย่างพอเพียง ปัจจุบันการน้า
                       น้้าบาดาลขึ้นมาใช้ก้าลังแพร่หลายมากขึ้นแต่อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด

                                      (4) การป้องกันน้้าเสีย การไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฎิกูลและสารพิษลงในแหล่งน้้า
                       น้้าเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบ้าบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลง
                       สู่แหล่งน้้า

                                      (5) การน้าน้้าเสียกลับไปใช้ น้้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจใช้ได้
                       ในอีกกิจการหนึ่ง เช่น น้้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถน้าไปรดต้นไม้ได้
                                จรรยาภรณ์  (2554)  กล่าวว่า แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการเป็น
                       แนวคิดที่พิจารณาการจัดการน้้าในแง่ที่เกี่ยวพันกับทรัพยากรอื่นๆ ในลุ่มน้้า เช่นเดียวกับแนวคิดเรื่อง
                       การจัดการลุ่มน้้า ทั้งนี้เพื่อให้การใช้น้้าเกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยค้านึงถึงปัจจัยทาง

                       สิ่งแวดล้อมและมีเป้าหมายให้ได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคมสูงสุด โดยสรุปแล้วการจัดการ
                       ทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการ  เป็นกระบวนการในการส่งเสริมการประสานการพัฒนาและจัดการ
                       ทรัพยากรน้้า ทรัพยากรดิน และทรัพยากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน้ามาซึ่งประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจ

                       และความเป็นอยู่ที่ดีของสังคมอย่างเท่าเทียมกัน  โดยไม่ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนของระบบนิเวศ
                       การจัดการทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการ  มีแนวคิดขั้นพื้นฐานที่แตกต่างจากแนวคิดการจัดการ
                       ทรัพยากรน้้าแบบดั้งเดิม ที่การจัดการทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการนั้นค้านึงถึงการจัดการทั้งด้านอุปสงค์
                       และอุปทาน  ดังนั้น  การบูรณาการจึงสามารถพิจารณาได้ภายใต้สองระบบหลัก  คือ  ระบบทาง

                       ธรรมชาติ  ซึ่งมีความส้าคัญเกี่ยวกับปริมาณและคุณภาพของทรัพยากรที่มีอยู่และระบบทางมนุษย์
                       ซึ่งเป็นผู้ก้าหนดหรือท้าให้เกิดความต้องการในการใช้  การผลิตของเสียรวมทั้งการปนเปื้อนของ
                       ทรัพยากรน้้า อีกทั้งยังเป็นผู้ก้าหนดล้าดับความส้าคัญในการพัฒนา ซึ่งมีผลต่อความต้องการใช้น้้า
                            3.1.3 ทรัพยากรป่าไม้

                                ชัยวัฒน์ คงสม  (2552) ได้ให้ความหมาย ป่าไม้ หมายถึง สังคมของสิ่งมีชีวิตจ้าพวกพืชที่
                       ขึ้นอยู่บนพื้นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ ต่อการเจริญเติบโตของพืชเหล่านั้น โดยปกติป่าไม้
                       หมายถึง สังคมของต้นไม้ขนาดใหญ่ ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของมนุษย์มากกว่า จะหมายถึงพืชเล็กๆ
                       ชนิดอื่น ดังนั้น ความหมายกว้างๆ ของป่าจึงครอบคลุม ไปถึงพืชทุกชนิดที่อยู่บนพื้นดินและพื้นป่า

                       นอกนั้นยังไม่รวมสิ่งมีชีวิตทั้งหลายที่อยู่บนพื้นป่า เช่น จุลินทรีย์ แมลง สัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นต้น และ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70