Page 46 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        37







                       พืชที่ปลูก และข๎อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎องของความต๎องการในการใช๎ประโยชน์ที่ดิน อยํางไรก็ตามควรมี
                       การวิเคราะห์ข๎อมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคมควบคูํกันเพื่อให๎การประเมินมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                               คํารณ (2544) กลําววํา ในการประเมินคุณภาพที่ดินจะถือวําที่ดินเป็นทรัพยากร หรือเป็น
                       อุปทาน (supply) ขณะที่การใช๎ที่ดินเป็นอุปสงค์ (demand) ที่ดินแตํละแหํงจะมีคุณภาพที่ดิน (land

                       quality) จําเพาะตามคุณลักษณะที่ดิน (land characteristics) ซึ่งประกอบด๎วยคุณลักษณะของภูมิอากาศ
                       (climatic  factor) และคุณลักษณะของดิน (soil  characteristics) คุณภาพที่ดินที่กําหนดขึ้นนี้ต๎องมี
                       อิทธิพลตํอการเจริญเติบโต และระดับของผลผลิตพืช เพื่อที่จะได๎มาตรวจวัดวําสามารถจะปลูกพืช
                       อะไรได๎บ๎าง และมีความเหมาะสมหรือข๎อจํากัดด๎านใดบ๎าง มากน๎อยเพียงใด เพราะพืชแตํละชนิด

                       ต๎องการปัจจัยในการเจริญเติบโต (land use requirement) แตกตํางกัน
                               สําหรับประเทศไทยกรมพัฒนาที่ดิน ได๎เป็นผู๎นําระบบการประเมินคุณภาพที่ดินตาม
                       หลักการ FAO  ดังกลําวมาใช๎อยํางเป็นทางการใน พ.ศ. 2528 อาจกลําวได๎วําเป็นหนํวยงาน
                       ราชการหนํวยแรก โดยนํามาใช๎วางแผนการใช๎ที่ดินระดับจังหวัด โดยเริ่มที่จังหวัดนราธิวาสเป็น

                       จังหวัดแรก จากนั้นนํามาประยุกต์ใช๎กับงานด๎านตํางๆ ของกรม และใช๎ระบบดังกลําวตํอมาจนถึง
                       ปัจจุบัน
                               3.3.1 หลักการประเมินคุณภาพที่ดิน

                                   หลักการประเมินคุณภาพที่ดิน ที่กําหนดโดย FAO (1983) สามารถกําหนดได๎ดังนี้
                                   1) ความเหมาะสมของที่ดิน (land suitability) เป็นหลักเกณฑ์ในการจําแนกที่สําคัญ
                       สําหรับการใช๎ที่ดินที่เฉพาะเจาะจง หลักเกณฑ์ดังกลําวเป็นที่ยอมรับกันแล๎ววําในการใช๎ที่ดิน
                       เฉพาะเจาะจงจะมีปัจจัยข๎อจํากัดหรือความต๎องการในการแตกตํางกันไปแตํละพื้นที่ ดังนั้นการใช๎ที่ดิน
                       จึงต๎องยึดความเหมาะสมของที่ดินเป็นหลัก เชํน ที่ลุํมยํอมเหมาะสมตํอการทํานา แตํไมํเหมาะสมแกํ

                       การปลูกพืชไรํ หรือปุาไม๎
                                   2) การประเมินต๎องมีการเปรียบเทียบผลประโยชน์ที่จะได๎รับกับปัจจัยที่ต๎องนํามา
                       ลงทุนในที่ดินแตํละประเภท

                                   3) การประเมินจําเป็นต๎องใช๎สหวิทยาการ โดยใช๎ความรู๎ทางด๎านวิทยาศาสตร์
                       เทคโนโลยีการใช๎ที่ดิน เศรษฐกิจและสังคม เป็นต๎น มาพิจารณารํวมกัน
                                   4) ผลที่ได๎จากการประเมินจะใช๎ได๎เฉพาะที่เทํานั้น เพราะปัจจัยของแตํละพื้นที่
                       ยํอมแตกตํางกัน

                                   5) ความเหมาะสม (suitability) หมายถึง การใช๎อยํางเกิดผลยั่งยืนนาน ทั้งนี้เพราะ
                       การประเมินจะครอบคลุมถึงการอนุรักษ์ ซึ่งจะต๎องมีการดูแลรักษาปูองกันมิให๎เกิดเสียสมดุลธรรมชาติ
                       และสามารถมีใช๎อยํางตํอเนื่อง
                                   6) การประเมินจะต๎องมีการเปรียบเทียบการใช๎ที่ดินมากกวําหนึ่งแบบ เชํน

                       เปรียบเทียบระหวํางพืชแตํละชนิดหรือระบบการปลูกพืชแตํละระบบ หากไมํมีการเปรียบเทียบแล๎วจะ
                       ทําให๎การใช๎ที่ดินอื่นๆ ที่เหมาะสมกวํา อาจจะถูกละเลยอันเป็นผลเสียได๎
                               3.3.2 รูปแบบการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework สามารถทําได๎ 2 รูปแบบ
                                   1) การประเมินทางด๎านคุณภาพ เป็นการประเมินเชิงกายภาพเทํานั้น วําที่ดินนั้นๆ

                       เหมาะสมมากหรือน๎อยเพียงใดตํอการใช๎ประโยชน์ที่ดินประเภทตํางๆ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51