Page 47 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        38







                                   2) การประเมินทางด๎านปริมาณหรือด๎านเศรษฐกิจ ซึ่งจะให๎คําตอบแทนในรูปผลผลิต
                       ที่ได๎รับตัวเงินในการลงทุนและตัวเงินจากผลตอบแทนที่ได๎รับ ซึ่งจะไมํกลําวถึงในการศึกษาครั้งนี้
                               3.3.3 ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดิน (Land Utilization Type)
                                   เป็นชนิดหรือระบบการใช๎ที่ดินที่กลําวถึงสภาพการผลิตและเทคนิคในการดําเนินการ

                       ในการใช๎ที่ดิน ทั้งทางด๎านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ได๎แกํ ชนิดพืชที่ปลูก เงินทุน แรงงาน
                       เครื่องจักร ขนาดของฟาร์ม ลักษณะถือครองที่ดิน โครงสร๎างพื้นฐานที่ต๎องการ การจัดการ วัสดุที่ใช๎
                       ในฟาร์ม เปูาหมายของการผลิต ผลผลิต ผลตอบแทนที่ได๎รับ เป็นต๎น
                                   บัณฑิต และคํารณ (2542) กลําววํา ในการประเมินคุณภาพที่ดิน จะประเมินออกมา

                       วําหนํวยที่ดินนั้นๆ เหมาะสมกับประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินรูปแบบใดบ๎าง พืชชนิดเดียวกันแตํมี
                       สภาพการผลิต และการจัดการที่แตกตํางกันจะถือเป็นประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินคนละประเภท


                       3.4  คุณภาพที่ดิน (Land Quality: LQ)
                               คุณภาพที่ดินคือ คุณสมบัติของที่ดินที่มีอิทธิพลตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช
                       คุณภาพที่ดินอาจประกอบด๎วยคุณลักษณะที่ดิน (land  characteristic) ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได๎
                       เชํน ความเป็นประโยชน์ของออกชิเจนตํอรากพืช (oxygen availability to roots) เป็นคุณภาพที่ดิน

                       ซึ่งมีผลมาจากคุณลักษณะของที่ดินหลายตัว เชํน ชั้นการระบายน้ําของดิน (soil drainage class)
                       ความลึกของระดับน้ําใต๎ดิน (depth  of  watertable) ระยะเวลาของน้ําทํวมขัง (period  of
                       waterlogging) เป็นต๎น

                               จะเห็นวําคุณภาพที่ดินนั้นในแตํละสิ่งแวดล๎อม คุณลักษณะที่ดินมีอิทธิพลตํอการ
                       เจริญเติบโตของพืช ความรุนแรงอาจไมํเทํากันหรือคนละตัว การประเมินคุณภาพที่ดินจึงจําเป็นต๎อง
                       “ชั่งน้ําหนัก” วําสถานการณ์ใดควรจะใช๎คุณลักษณะที่ดินใดเป็นตัวนํา ซึ่งจะกลําวในรายละเอียด
                       ตํอไปนี้
                               3.4.1  คุณภาพที่ดินที่นํามาประเมินสําหรับการปลูกพืชในระบบของ FAO Framework ได๎

                       กําหนดไว๎ทั้งหมด 25 ชนิด สําหรับประเทศไทยอาจนํามาใช๎เพียงไมํกี่ชนิด ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับความพร๎อม
                       ของข๎อมูลความแตกตํางของภูมิภาค และระดับความรุนแรงของคุณลักษณะดินที่มีผลตํอผลผลิต ตลอดจน
                       ชนิดของพืช และความต๎องการใช๎ประโยชน์ที่ดิน คุณภาพที่ดินทั้ง 25 ชนิด มีดังนี้

                                   1) ความเข๎มของแสงอาทิตย์ (radiation regime): u
                                   2) อุณหภูมิ (temperature regime): t
                                   3) ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (moisture availability): m
                                   4) ความเป็นประโยชน์ของออกชิเจนตํอรากพืช (oxygen availability to root): o

                                   5) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (nutrient availability): s
                                   6) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (nutrient retention capacity): n
                                   7) สภาวะการหยั่งลึกของราก (rooting conditions): r
                                   8) สภาวะที่มีผลตํอการงอกของเมล็ดพืช (conditions affecting germination): g

                                   9) ความชื้นในอากาศที่มีผลตํอการเจริญเติบโต (air humidity as affecting growth): h
                                   10) สภาวะการสุกแกํ (conditions for ripening): i
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52