Page 45 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        36







                       ปัญหาที่สําคัญประการหนึ่งคือการใช๎ที่ดินที่ไมํเหมาะสมกับสมรรถนะที่ดิน จากรายงานการใช๎
                       ประโยชน์ที่ดิน ปี พ.ศ. 2541 เปรียบเทียบกับความเหมาะสมของที่ดินของประเทศไทย พบวํามีการ
                       ใช๎ที่ดินที่ไมํถูกต๎องตามสมรรถนะที่ดิน ประมาณ 101.87 ล๎านไรํ หรือคิดเป็น 31 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                       ทั้งประเทศ โดยสํวนใหญํเป็นการทํานาข๎าวบนดินที่ไมํเหมาะสม 90.41 ล๎านไรํ การปลูกพืชไม๎ผล

                       และไม๎ยืนต๎นบนดินที่ไมํเหมาะสม 17.5 ล๎านไรํ และการปลูกพืชไรํบนที่ลาดเขาสูงกวํา 35 เปอร์เซ็นต์
                       จํานวน 3.95 ล๎านไรํ นอกจากนี้ที่ดินบางแหํงเหมาะสมที่จะใช๎ทางการเกษตร แตํกลับนําไปใช๎
                       ประโยชน์ในด๎านอื่นๆ เชํน สร๎างโรงงานอุตสาหกรรมและบ๎านจัดสรร
                                   จากรายงานกรมพัฒนาที่ดิน (2558) ระบุวํา เนื่องจากทรัพยากรที่ดินของประเทศไทย

                       มีอยํางจํากัด โดยมีพื้นที่เพียง 320.7 ล๎านไรํ ซึ่งสอดคล๎องกับพิทยากร (2551) เป็นพื้นที่เกษตรกรรม
                       ประมาณ 174 ล๎านไรํ หรือร๎อยละ 54.36 ของเนื้อที่ทั้งประเทศ ประกอบกับปัญหาประชากรเพิ่มมาก
                       ขึ้นทําให๎เกิดปัญหาการใช๎ที่ดินไมํเหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน ทําให๎เกิดผลกระทบคือ จากข๎อมูลปี
                       2549-2556 พบวํา พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง พื้นที่น้ํา พื้นที่เบ็ดเตล็ด และพื้นที่เกษตรกรรม

                       มีแนวโน๎มเพิ่มมากขึ้น จากการขยายตัวของชุมชน (จําเป็นต๎องใช๎พื้นที่เพื่ออยูํอาศัยและเป็นพื้นที่ทํา
                       กิน) ในขณะที่พื้นที่ปุาไม๎ มีปริมาณลดลงเรื่อยๆ โดยในปี 2556 มีเนื้อที่เพียง 109.26 ล๎านไรํ
                       หรือร๎อยละ 34.06 ของเนื้อที่ทั้งประเทศ


                       3.3  การประเมินคุณภาพที่ดิน
                               การประเมินคุณภาพที่ดิน เป็นขั้นตอนสําคัญในการวางแผนการใช๎ที่ดิน เนื่องจากสามารถ

                       แสดงข๎อมูลการจัดการที่ดินที่ควรทําในปัจจุบัน และสิ่งใดจะเกิดขึ้นเมื่อปลูกพืชแบบเดิมตํอไป
                       แสดงแนวทางการปรับปรุงที่ดินที่สามารถทําได๎ หากต๎องการปลูกพืชเดิมอยูํ ความยั่งยืนในการใช๎
                       ประโยชน์ที่ดินแบบเดิมหรือโอกาสที่ได๎ผลตอบแทน รวมทั้งแสดงถึงปัจจัยที่จําเป็นต๎องใช๎ในการผลิต
                       เพื่อให๎ได๎ผลผลิตในระดับที่ต๎องการ
                               FAO  (1976) รายงานวําการประเมินคุณภาพที่ดินในประเทศตํางๆ ได๎มีมากํอนในปี

                       ค.ศ. 1970 และแตํละประเทศก็จะมีระบบเป็นของตนเองทําให๎เกิดปัญหาในการแลกเปลี่ยนข๎อมูลความรู๎
                       แกํกันและกัน องค์การอาหารและการเกษตรแหํงสหประชาชาติ (FAO) จึงได๎ทําการกําหนดมาตรฐาน
                       การประเมินให๎เป็นหลักสากลขึ้นโดยเชิญผู๎เชี่ยวชาญ ทั่วโลกมาประชุมตกลงกันในปี

                       ค.ศ. 1973 จากนั้นได๎มีการกําหนดกรอบแนวทางและพิมพ์เป็นเอกสารขึ้นได๎สําเร็จในปี ค.ศ. 1975
                               Mcrac and Burnham (1981) เสนอวํา ที่ดินสามารถประเมินทางตรงได๎ โดยการสังเกตจาก
                       การเจริญเติบโตของพืช ผลลัพธ์ที่ได๎ต๎องมีความเหมาะสมในพื้นที่ที่เฉพาะเจาะจงและการใช๎ที่ดินเพียงอยํางเดียว
                       โดยต๎องคํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติ การประเมินทางตรงผู๎ประเมินต๎องรวบรวมข๎อมูลทรัพยากรตํางๆ

                       ข๎อมูลปัจจุบันเพียงอยํางเดียวไมํเพียงพอ ซึ่งการประเมินที่ดินสํวนมากประเมินทางอ๎อม โดยมี
                       การประมาณคําของดินและอิทธิพลของพื้นที่อยํางเฉพาะเจาะจงจึงจะประสบความสําเร็จ การใช๎ที่ดิน
                       อยํางมีหลักการและคุณภาพของที่ดิน จะสามารถอนุมานจากการสังเกตจากคุณสมบัติตํางๆ
                               Dent  (1985) กลําววํา การประเมินคุณภาพที่ดิน เป็นวิธีการศึกษาศักยภาพของที่ดิน

                       เมื่อถูกนําไปใช๎ประโยชน์ในด๎านตํางๆ โดยอาศัยข๎อมูลตํางๆ เชํน การสํารวจภาคสนาม ภูมิอากาศ ดิน
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50