Page 42 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        33







                               3.1.8 ชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (land  suitability  class) เป็นผลของการประเมิน
                       คุณภาพดิน โดยแสดงข๎อจํากัดของคุณลักษณะที่ดินที่มีผลโดยตรง คือ การใช๎ประโยชน์ที่ดิน
                               3.1.9 ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (highly  suitable) การใช๎ที่ดินไมํมีข๎อจํากัดใดๆ ที่จะลด
                       ความสามารถในการผลิต หรือจะต๎องเพิ่มปัจจัยในการผลิตตํางๆ

                               3.1.10 ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (moderately suitable) ที่ดินมีความเหมาะสมใน
                       การใช๎ประโยชน์ แตํมีข๎อจํากัดบางอยํางที่อาจลดความสามารถในการผลิตหรือจะต๎องเพิ่มปัจจัยการ
                       ผลิตเพื่อรักษาระดับความสามารถในการผลิตของที่ดิน เมื่อเปรียบเทียบกับที่ดินที่อยูํในระดับความ
                       เหมาะสมสูง

                               3.1.11 ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กน๎อย (marginally  suitable) ที่ดินมีข๎อจํากัดในการใช๎
                       ประโยชน์อยูํในระดับรุนแรง ซึ่งการได๎รับผลตอบแทนหรือการใช๎ปัจจัยการผลิตแทบจะไมํคุ๎มคําตํอการ
                       ลงทุน
                               3.1.12 ที่ดินไมํมีความเหมาะสม (not suitable) ที่ดินไมํเอื้ออํานวยตํอการใช๎ประโยชน์อยําง

                       ยั่งยืน ซึ่งผลตอบแทนจากการใช๎ที่ดินไมํคุ๎มคําแกํการลงทุน

                       3.2  ดินและที่ดิน

                               3.2.1 ดิน
                                   ดิน (soil) ตามความหมายทางปฐพีวิทยา (soil science) หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติ
                       (natural  body) ที่ปกคลุมพื้นผิวโลก อยูํเป็นชั้นบางๆ เกิดจากการแปรสภาพหรือผุพังสลายตัวของ

                       หินและแรํ ผสมคลุกเคล๎ารวมกับอินทรียวัตถุที่เกิดจากการเนําเปื่อยผุพังของเศษซากพืชซากสัตว์ที่ทับ
                       ถมกันอยูํบนดิน เกิดการเกาะตัวกันเป็นเม็ดดิน (soil aggrgate) และสะสมอยูํเป็นชั้นๆ (profile) โดย
                       มีลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ สิ่งมีชีวิต และระยะเวลาเป็นปัจจัยรํวมที่ควบคุมและกําหนดให๎
                       ดินในแตํละสถานที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงและแตกตํางกันไป (บรรเจิด, 2523)
                                   กรมพัฒนาที่ดิน (2551) ให๎ความหมายของ “ดิน” ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน

                       พ.ศ. 2551 หมายความรวมถึงหิน กรวด ทราย แรํธาตุ น้ํา และอินทรียวัตถุตํางๆที่เจือปนกับ
                       เนื้อดินด๎วย ด๎านความหมายของดินในระบบ Soil  Taxonomy  นั้น สํานักสํารวจดินและวิจัย
                       ทรัพยากรดิน (2557) หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ประกอบด๎วยของแข็ง ของเหลว และก๏าซที่เกิดปก

                       คลุมพื้นผิวโลก โดยมีลักษณะสําคัญที่ปรากฎเห็นเดํนชัด ได๎แกํ ชั้นดินที่เป็นผลมาจากกระบวนการ
                       สร๎างดิน ได๎แกํ การเพิ่มเติม การสูญเสีย การเคลื่อนย๎าย และการแปรสภาพ ยิ่งไปกวํานั้นดินดังกลําว
                       ยังเป็นวัตถุสําคัญในการหยั่งรากของพืช เพื่อให๎พืชเจริญงอกงามผลิดอกออกผล อันเป็นสํวนหนึ่งที่
                       สําคัญของระบบแวดล๎อมตามธรรมชาติที่จะขาดเสียมิได๎ นอกจากนี้ ดินตามพจนานุกรมปฐพีวิทยา

                       (คณะกรรมการจัดทําปทานุกรมปฐพีวิทยา, 2551) หมายถึง 2 ความหมาย คือ
                                   1) อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไมํจับตัวแข็งเป็นหิน ซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลกเป็น
                       ตัวกลางธรรมชาติสําหรับการเจริญเติบโตของพืช
                                   2) อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไมํจับตัวแข็งเป็นหิน ซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลกเป็นผล

                       มาจากปัจจัยด๎านการกําเนิดและสภาพแวดล๎อม ได๎แกํ ภูมิประเทศ สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47