Page 19 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
2) ชุดดินบานไร (Bar Rai series : Bar) ศึกษาบริเวณตําบลหวยน้ําหอม อําเภอลาดยาว
จังหวัดนครสวรรค จําแนกดินเปน Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Ultic Haplustalfs
เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่และตะกอนดาดเชิงเขาของหินแกรนิตบริเวณพื้นผิวที่เกิดจากการ
กัดกรอน สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 5 เปอรเซ็นต การระบายน้ําดี การไหลบา
ของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว การซึมผานไดของน้ําปานกลางถึงเร็ว พืชพรรณธรรมชาติและการใช
ประโยชนเปนปาเบญจพรรณ การจัดเรียงชั้น A-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลางถึงชั้นเศษหินและกอนหินของหินแกรนิต ดินบน
เปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาลปนเทาเขมมากและสีเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง
(pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนทรายถึงรวนปนทรายปนกรวด มีสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปน
กรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-5.5)
ความจุ ความอุดม
ความลึก อินทรียวัตถุ แลกเปลี่ยน ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สมบูรณ
(ซม.) เบส ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน
แคตไอออน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
3) ดินคลายชุดดินมาบบอนที่เปนดินรวนหยาบ (mab Bon coarse loamy variant :
Mb-col) ศึกษาบริเวณบานชุมเทพ กิ่งอําเภอลานสัก จําแนกดินเปน Coarse-loamy, mixed,
isohyperthermic, coated Oxic Paleustults เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินแกรนิต
บนบริเวณพื้นผิวที่เหลือคางจากการกรอน สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 8 เปอรเซ็นต
การระบายน้ําดี การไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว การซึมผานไดของน้ํา ปานกลางถึงเร็ว
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนเปนขาวโพด การจัดเรียงชั้น A-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาล ปฏิกิริยาดิน
เปนกรดเล็กนอย (pH 6.5) ดินลางเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียว สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)