Page 24 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        15







                                  c : ความลึกที่พบชั้นดานแข็งหรือชั้นที่พบกอนกรวดมากกวา 60 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                        (depth to consolidated layer)

                                  g : ความลึกที่พบกอนกรวด 35-60 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร (depth to gravelly layer)
                                  r : หินพื้นโผล (rockiness)

                                  z : กอนหินโผล (stoniness)

                                  x : ความเค็มของดิน (salinity)
                                  d : การระบายน้ําของดิน (drainage)

                                  f  : อันตรายจากการถูกน้ําทวม (flooding)
                                  w : อันตรายจากน้ําแชขัง (water logging)

                                  m : ความเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา (rick of moisture shortage)

                                  n : ความอุดมสมบูรณของดิน (nutrient status)
                                  a : ความเปนกรดของดิน (acidity)

                                  k : ความเปนดางของดิน (alkalinity)

                                  j : ความลึกที่พบชั้นดินกรดกํามะถัน (depth to acid sulfate layer)
                                  e : การกรอนของดิน (erosion)

                                  o : ความหนาของชั้นวัสดุดินอินทรีย (thickness of organic soil material)

                               ระดับความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ แบงออกเปน 5 ชั้น ไดแก
                                  ระดับความเหมาะสมที่ 1 : เหมาะสมดีมาก

                                  ระดับความเหมาะสมที่ 2 : เหมาะสมดี
                                  ระดับความเหมาะสมที่ 3 : เหมาะสมปานกลาง

                                  ระดับความเหมาะสมที่ 4 : ไมคอยเหมาะสม
                                  ระดับความเหมาะสมที่ 5 : ไมเหมาะสม

                               4) สภาพภูมิอากาศและชั้นความสูงไมไดนํามาเปนขอพิจารณาการจําแนกความเหมาะสม

                       ของดินสําหรับการปลูกพืชตางๆ  โดยตรง แตผูจําแนกความเหมาะสมของดินควรจะนําสภาพ
                       ภูมิอากาศมาพิจารณาเปนอันดับแรก เพื่อแนะนําหรือเลือกชนิดพืชที่จะนํามาปลูกวาใชปลูกพืชได้

                       หรือไม  โดยคํานึงถึงเขตความชื้นของดินที่ไดจากระบบการจําแนกดินหรือความสูงที่อยูเหนือ

                       ระดับน้ําทะเล
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29