Page 14 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         5







                            2.1.3 กระบวนการทางดิน (pedological processes)  จะเกี่ยวของกับการผุพังสลายตัว
                       ของทั้งอินทรียสารและอนินทรียสารกับการสังเคราะหวัตถุใหม ที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลของกระบวนการ

                       สรางดิน และอยูภายใตอิทธิพลของปจจัยควบคุมการเกิดดิน โดยทั่วไปมักจะแยกกระบวนการเกิด
                       ของดินออกเปน  2 ลักษณะใหญๆ  ดวยกัน  คือ กระบวนการทําลายและกระบวนการสราง ซึ่ง

                       กระบวนการทั้งสองแบบนี้อาจจะเกิดขึ้นพรอมกัน หรือเกิดกระบวนการทําลายขึ้นกอนแลวเกิด

                       กระบวนการสรางดินตามมาก็ได ตามทฤษฎีการเกิดดินกระบวนการสรางดินมีความแตกตางกันอยางมาก
                       เห็นไดวาสมบัติของดินโดยทั่วไปนั้นมีความเหมือนและคลายคลึงกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อคํานึงถึง

                       ขั้นของการเกิดดินในขั้นที่สองคือการเกิดและแบงแยกชั้นดินหลังจากผานขั้นที่หนึ่งคือการผุพังและ
                       ทับถมของวัตถุตนกําเนิดดินแลว ในกระบวนการสรางดินจะมีหลักของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น

                       กระบวนการเหลานี้สามารถจัดรวมเปนกลุมได 4 กลุมดวยกัน (Simonson, 1959; เอิบ, 2548)

                               1) การเพิ่มเติมวัสดุ ( addition ) เชน การเพิ่มเติมวัสดุอินทรียและวัสดุแรธาตุลงดินใน
                       ลักษณะของแข็ง ของเหลว และกาซ ประกอบดวยการเพิ่มวัสดุในดิน (enrichment) การสะสมวัสดุ

                       ผิวหนา (cumulization) และการตกทับถมของเศษพืช (littering)

                               2) การสูญเสียวัสดุ  (losses) เปนการสูญเสียวัสดุไปจากดิน ประกอบดวย การชะละลาย
                       (leaching) และการกรอน (erosion)

                               3) การเคลื่อนยายวัสดุ (translocation) เปนการเคลื่อนยายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง

                       ภายในดิน ประกอบดวย  การซึมชะหรือการเคลื่อนยายออก  ( eluviation )  การสะสมหรือการ
                       เคลื่อนยายเขา (illuviation) การสะสมแคลเซียมคารบอเนต (calcification) การสูญเสียแคลเซียม

                       คารบอเนต (decalcification) การสะสมเกลือ (salinization) การสูญเสียเกลือ (desalinization)
                       การสะสมดาง (alkalization) การสูญเสียดาง (dealkalization) การยายที่เชิงกล (lessivage) การ

                       รบกวนดิน (pedoturbation) และการเปนสีจางของดิน (leucinization)
                               4) การเปลี่ยนแปลงรูปวัสดุ (transformation) เปนการเปลี่ยนแปลงรูปของวัสดุแรธาตุและ

                       วัสดุอินทรียจากรูปหนึ่งไปเปนอีกรูปหนึ่งในดิน  ประกอบดวย การสลายตัว (decomposition) การ

                       สังเคราะห (synthesis) การเกิดฮิวมัส (humification) การแปรรูปเปนแรธาตุ (mineralization)
                       การเพิ่มซิลิกา (resilication) การรวนซุยของดิน (loosening) และการแข็งขึ้นของดิน (hardening)

                            2.1.4 ลําดับภูมิประเทศ (toposequence) หมายถึง ลําดับของลักษณะสัณฐานดินที่เกิดบน

                       วัตถุตนกําเนิดชนิดเดียวกัน แตมีสมบัติแตกตางกัน เนื่องจากเกิดในสภาพภูมิประเทศที่แตกตางกัน ใน
                       การใชคํานี้ครั้งแรกเนนสมบัติดินที่แตกตางกันที่มีสาเหตุมาจากระดับความสูงของตําแหนงและสภาพ

                       อุทกวิทยาที่แตกตางกันของเนินเขา สวนลําดับดิน (soil sequence) หมายถึง การเรียงลําดับหนวยดิน

                       หรือชนิดของดินที่พบในพื้นที่ตามความแตกตางของปจจัยที่ใหกําเนิดดิน รูปแบบของการเรียงลําดับ
                       นั้นจะตองมีรูปแบบเดียวกันไมวาจะพบในบริเวณตางกัน การที่เกิดลําดับดินอยางสม่ําเสมอเนื่องจาก
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19