Page 23 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        14







                               3) สมบัติทางแรวิทยา
                                  จากการศึกษาแรที่พบในดินที่เกิดจากหินแกรนิตในประเทศไทย (อัมภวัลยและคณะ,

                       2537) พบวา องคประกอบทางแรในขนาดอนุภาคดินเหนียวโดยเทคนิคทาง XRD ทุกชุดดิน ประกอบ
                       ดวยแรดินเหนียวหลักคือ แร่เคโอลิไนต  แรดินเหนียวอื่นๆ  พบปริมาณนอยถึงนอยมาก ไดแก แร

                                                                                            ๐
                       อิลไลต์  แรเวอรมิคิวไลต และแรมอนตมอริลโลไนต  รวมถึงแรดินเหนียวพวก 14 A  group  ซึ่งไม
                       สามารถระบุชนิดของแรที่รวมอยูได
                            2.2.4 ความเหมาะสมของดินสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ

                               ขอมูลจากการสํารวจดิน สามารถจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ โดย
                       ใชวิธีประเมินตามคูมือการจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย

                       (กองสํารวจและจําแนกดิน, 2543) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                               หลักเกณฑการจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ
                               1)  ศึกษาลักษณะและสมบัติตางๆ ของดิน ตลอดจนสภาพแวดลอมที่ไดจากขอมูลการ

                       สํารวจและจําแนกดินอยางละเอียด นํามาจัดหมวดหมูหรือเปนชั้นตามความรุนแรงของลักษณะดิน

                       และสภาพแวดลอมที่มีผลตอการเพาะปลูกพืช หรือตามความเสี่ยงตอความเสียหาย เมื่อนําดินนั้นมา
                       ปลูกพืช พิจารณาโดยถือหลักวา พืชที่จะปลูกตามปกติจะตองปลูกในฤดูฝน ชั้นความเหมาะสมของดิน

                       แตละชั้นจะประกอบดวยชุดดินหลายชุด แตไมไดหมายความวาชั้นความเหมาะสมของดินแตละชั้นนั้น

                       ตองการการจัดการที่เหมือนกันเสมอไป ชั้นความเหมาะสมของดินแตละชั้นจะมีขอจํากัดปลีกยอยลง
                       ไปอีก เรียกวา ชั้นความเหมาะสมของดินยอย (subclass)

                               2) ระดับความเหมาะสมของดินแตละชั้นยกเวนชั้นความเหมาะสมที่ 1 จะตองระบุลักษณะ
                       และคุณสมบัติของดินที่มีผลตอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตอผลผลิตของพืชที่ปลูก ลักษณะของ

                       ดินที่ระบุไวในชั้นความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืชแตละชั้น เรียกวา ขอจํากัด (limitation)
                       การจําแนกความเหมาะสมของดินแตละชั้นจะตองตรวจสอบวาดินแตละชุดนั้นมีลักษณะอะไรบางที่

                       รุนแรงที่สุดที่จะเปนอุปสรรคตอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตอผลผลิตของพืชก็จะตกอยูในชั้น

                       ความเหมาะสมนั้น
                               3)  เมื่อทราบระดับความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืชแลวใหทําการจําแนกระดับ

                       ความเหมาะสมยอยลงไป โดยจะระบุชนิดของขอจํากัดที่รุนแรงที่สุดไวตอทายชั้นความเหมาะสมของ

                       ดินหลัก ชนิดของขอจํากัด หรือลักษณะของดินที่เปนอันตรายหรือทําความเสียหายใหแกพืช ไดแก
                                  t : สภาพพื้นที่ (topography)

                                  s : เนื้อดิน (texture) หรือ ชั้นอนุภาคดิน (particle size class)

                                  b : ชั้นดินที่มีการชะลางรุนแรง (albic horizon)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28