Page 22 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        13







                                  (4) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดิน จากการศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิต
                       ในประเทศไทย (อัมภวัลยและคณะ, 2537) และการศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตในบริเวณชายฝง

                       ทะเลตะวันออกเฉียงใต (บุษยรัตน, 2552) พบวา ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนอยูในเกณฑ
                       ต่ํามากถึงต่ําตลอดหนาตัดดิน โดยมีแนวโนมลดลงในชั้นดินลาง การศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิต

                       บริเวณภาคเหนือ (สารคาม, 2528) พบวา ทุกหนาตัดดินอยูในเกณฑสูงมากตลอดหนาตัดดิน ยกเวน

                       บริเวณดอยปุยมีคาอยูในเกณฑต่ํามาก
                                  (5) ปริมาณเบสที่สกัดได จากการศึกษาดินที่เกี่ยวของกับเหมืองดีบุกและปาชายเลน

                       (เชาว, 2527)  พบวาดินที่สลายตัวจากหินแกรนิต มีปริมาณแคลเซียม แมกนีเซียม และโพแทสเซียม
                       ต่ํา และพบวาปริมาณแคลเซียมที่สกัดได มีมากกวาแมกนีเซียมที่สกัดได แมกนีเซียมที่สกัดได มี

                       มากกวาโพแทสเซียมที่สกัดได การศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตบริเวณภาคเหนือ (สารคาม, 2528)

                       และ การศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตในบริเวณชายฝงทะเลตะวันออกเฉียงใต (บุษยรัตน, 2552)
                       พบวา ทุกหนาตัดดินมีคาต่ําและลดลงตามความลึก

                                  (6) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดิน จากการศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตใน

                       ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใตตามลําดับ  (Vijarnsorn,  1972;  Inthawong,  1978) พบวาอยูใน
                       ระดับต่ํา การศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตบริเวณภาคเหนือ (สารคาม, 2528) และการศึกษาดินที่

                       เกิดจากหินแกรนิตในบริเวณชายฝงทะเลตะวันออกเฉียงใต (บุษยรัตน, 2552) พบวา ในทุกหนาตัดดิน

                       มีคาแปรปรวนโดยอยูในชวงต่ําถึงปานกลางและมีคาลดลงตามความลึก
                                  (7) สภาพความเปนกรดที่แลกเปลี่ยนไดของดิน จากการศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิต

                       ในภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใตตามลําดับ (Vijarnsorn, 1972; Inthawong, 1978) พบวาอยูใน
                       ระดับสูง เชนเดียว กับการศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตบริเวณภาคเหนือ (สารคาม, 2528) พบวา

                       มีคาสูงในทุกหนาตัดดิน และมีคาลดลงตามความลึก การศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตในบริเวณ
                       ชายฝงทะเลตะวันออกเฉียงใต (บุษยรัตน, 2552) พบวาอยูในระดับปานกลางถึงสูง

                                  (8) คาอัตรารอยละความอิ่มตัวดวยเบสของดิน จากการศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตใน

                       ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใตตามลําดับ  (Vijarnsorn,  1972;  Inthawong,  1978) พบวา อยูใน
                       ระดับต่ํา การศึกษาดินที่เกิดจากหินแกรนิตบริเวณภาคเหนือ (สารคาม, 2528) พบวา มีคาต่ํา ยกเวน

                       บริเวณอําเภอบานตาก จังหวัดตาก มีคาปานกลาง
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27