Page 18 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         9







                               การสํารวจดินจังหวัดอุทัยธานีมาตราสวน 1 : 25,000 (กองสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน,
                       2559) เพื่อสํารวจและปรับปรุงขอมูลขอบเขตดินใหมีความถูกตองสอดคลองกับพื้นที่ที่เปลี่ยนแปลงไป

                       ซึ่งการแสดงผลขอมูลดินในครั้งนี้ไดใชแผนที่ภาพถายออรโธสีเชิงเลข (orthophoto) ซึ่งสามารถแสดง
                       รายละเอียดของสภาพพื้นที่และสภาพแวดลอมที่เปนจริงไดอยางชัดเจนและทันสมัยที่สุดที่มีอยู โดย

                       พบดินที่มีวัตถุตนกําเนิดจากหินแกรนิต มีเนื้อที่รอยละ 33.77 ประกอบดวย ชุดดินทับเสลา (Tas)

                       ชุดดินบานไร (Bar) ชุดดินลานสัก (Lsk) ชุดดินอุทัย (Uti) ชุดดินหนองฉาง (Nch) ชุดดินทัพทัน
                       (Tht) ชุดดินหนองมด (Nm) ชุดดินโปงตอง (Po) ชุดดินภูสะนา (Ps) และชุดดินจันทึก (Cu)

                            2.2.2 ลักษณะและสมบัติบางประการของดินที่มีวัตถุตนกําเนิดจากหินแกรนิตในจังหวัด
                       อุทัยธานี กองสํารวจและจําแนกดิน (2533) ไดทําการศึกษาทําคําบรรยายหนาตัดดินและวิเคราะห

                       สมบัติของดินที่มีวัตถุตนกําเนิดจากหินแกรนิตในจังหวัดอุทัยธานี ประกอบดวย ชุดดินทับเสลา (Tas)

                       ชุดดินบานไร (Bar) ดินคลายชุดดินมาบบอนที่เปนดินรวนหยาบ (Mb-col) และชุดดินอุทัย (Uti) ดังนี้
                               1) ชุดดินทับเสลา (Thap Salao series: Tas)  ศึกษาบริเวณบานระบํา กิ่งอําเภอลานสัก

                       จังหวัดอุทัยธานี จําแนกดินเปน Loamy-skeletal, mixed, isohyperthermic Arenic Haplustalfs

                       เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่และตะกอนดาดเชิงเขาของหินแกรนิต บริเวณภูเขา สภาพพื้นที่เปน
                       ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 3 เปอรเซ็นต การระบายน้ําดี การไหลบาของน้ําบนผิวดินชา

                       ถึงปานกลาง การซึมผานไดของน้ําปานกลาง พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนเปนปาเบญจพรรณ

                       การจัดเรียงชั้น A-Bt
                               ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดและเศษหิน โดยปริมาณกรวดและเศษหินจะ

                       เพิ่มมากขึ้นตามความลึก ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาลปนเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม
                       ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง  ( pH 5.5-7.0 )  ดินลางเปนดินรวนปนทรายปนกรวดมาก มีสี

                       น้ําตาลเขม สีน้ําตาล หรือสีน้ําตาลซีด ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย ( pH 5.0-6.5 )


                                                 ความจุ               ฟอสฟอรัส  โพแทสเซียม      ความอุดม
                        ความลึก                              ความ
                                  อินทรียวัตถุ   แลกเปลี่ยน             ที่เปน     ที่เปน      สมบูรณ
                         (ซม.)                             อิ่มตัวเบส
                                               แคตไอออน               ประโยชน    ประโยชน       ของดิน

                         0-25         ต่ํา        ต่ํา        ต่ํา    ปานกลาง        สูง        ปานกลาง

                         25-50        ต่ํา        ต่ํา        ต่ํา       ต่ํา        ต่ํา          ต่ํา

                        50-100        ต่ํา        ต่ํา     ปานกลาง       ต่ํา        ต่ํา          ต่ํา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23