Page 13 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         4







                                  วัตถุตนกําเนิดดินที่เปนอนินทรียสารหรือแรธาตุ ที่พบสวนใหญสามารถจําแนกออกไดดังนี้
                       (เอิบ, 2552)

                                     (1) วัสดุตกคาง (residuum) เกิดจากการผุพังอยูกับที่ตอเนื่องจากหินแข็งขึ้นมา
                       ดานบน มีลักษณะที่เกี่ยวกับชั้นหินดานลาง แลวแตวาจะเปนดินชนิดใด เนื้อประกอบดวยอนุภาคที่ไม

                       มีการแยกขนาด

                                     (2) เศษหินเชิงเขา (colluvium) เกิดจากชิ้นสวนของหินและแรที่ผุพัง แลวรวงหลน
                       ลงมาจากสวนที่สูงลงไปหาที่ต่ําเพราะแรงดึงดูดของโลก และทับถมกันอยูไมไกลจากแหลงเดิม โดยยัง

                       เปนชิ้นสวนที่มีรูปรางและขนาดคละกัน (ไมมีการคัดขนาด) หลังจากนั้นจึงเกิดเปนดินขึ้น มักพบ
                       รวมกับวัสดุตกคาง และอยูใกลกับภูเขาหรือหนาผา

                                     (3) ตะกอนน้ํา (water  deposits) เกิดจากการสะสมกันของตะกอนที่ถูกน้ําพัดพามา

                       ลักษณะเดนคือ จะมีการคัดขนาดทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ปกติตะกอนจะมีขนาดเทากันในบริเวณ
                       หนึ่งๆ ขนาดจะใหญเมื่ออยูใกลแหลงของตะกอน และขนาดตะกอนจะเล็กลงทางปลายน้ํา

                                  5) ระยะเวลาหรือพัฒนาการของดิน (time) บทบาทของเวลาที่เกี่ยวของกับการเกิด

                       ดินมีทั้งระยะเวลาที่แทจริงที่ดินเริ่มพัฒนาจากวัตถุตนกําเนิดดินซึ่งเปนอายุจริงของดินและระยะเวลา
                       สัมพัทธ ซึ่งหมายถึงระดับการพัฒนาของดิน สําหรับอิทธิพลของเวลาในแงของการเกิดดินนั้นหมายถึง

                       ชวงหนึ่งของเวลาที่ตอเนื่องกันไปโดยไมมีเหตุการณรุนแรงขัดจังหวะการพัฒนาตัวของดิน เวลาที่เปน

                       ศูนยสําหรับดินชนิดหนึ่ง คือ จุดที่ไดมีเหตุการณรุนแรงอยางหนึ่งทางดินเกิดขึ้น ถือวาเปนจุดสิ้นสุด
                       ของเวลาในการสรางตัวของดินและจะเปนจุดเริ่มตนของชวงเวลาในการสรางตัวของดินชวงตอไป

                       เหตุการณรุนแรงดังกลาวอาจหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ ระดับน้ําใตดิน การ
                       เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในทันทีทันใดหรือการเปลี่ยนแปลงของวัตถุตนกําเนิดดิน เชน มีการทับถม

                       อยางรุนแรงของตะกอนใหม เปนตน เราสามารถใชลักษณะและสมบัติบางประการในการเปรียบเทียบ
                       อายุของดินได เชน ความลึกของดิน ความหนาของชั้นดิน สีของดิน เปนตน ชั้นดินที่มีการสะสม

                       อินทรียวัตถุหนากวาแสดงวามีระยะเวลาในการพัฒนามากกวา แมวาจะเริ่มพัฒนาพรอมกันก็ตาม

                       ดินลึกมีระยะเวลาการพัฒนามากกวาดินตื้น หรือดินสีแดงผานกระบวนการเปลี่ยนแปลงมานานกวา
                       ดินสีดําหรือสีน้ําตาล และถือเปนดินที่มีอายุมาก และดินที่ผานกระบวนการเกิดดินที่รุนแรงกวาจะถือ

                       วามีอายุมากกวา

                                  6) ปจจัยแทรกในการเกิดดิน (dots factor) คือ วัสดุที่เพิ่มเติมเขาสูดินไดจากแหลง
                       อื่นหรือในภาวะบางอยาง ดินอาจจะไดรับอิทธิพลของกระบวนการที่เกิดขึ้นในลักษณะอุบัติเหตุได

                       เชน การเกิดไฟเผาในบริเวณผิวหนาพื้นที่ อาจรวมถึงอิทธิพลการจัดการดินของมนุษย เชน การใสปุย

                       การใสปูน หรือวัสดุปรับปรุงดิน (เอิบ, 2548)
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18