Page 12 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินที่มีวัตถุต้นกำเนิดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวัดอุทัยธานี
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         3







                       หากพืชพรรณที่ขึ้นปกคลุมดินถูกทําลายยอมสงผลกระทบตอระดับความอุดมสมบูรณของดิน ทําให
                       ดินเกิดความเสื่อมโทรม โดยเฉพาะการชะลางพังทลายของหนาดินที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและ

                       รุนแรง นอกจากนี้พืชพรรณยังมีความสัมพันธกับชนิดของดินอีกดวย เชน บริเวณปาดิบชื้นที่ชั้นดินบน
                       จะหนา จะมีปริมาณอินทรียวัตถุสะสมสูงและดินจะมีความชื้นตลอดทั้งป สวนดินบริเวณพื้นที่ปาสน

                       หรือปาสนเขามักมีความอุดมสมบูรณต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรด ในขณะที่พื้นที่ปาชายเลนจะเปนดินที่

                       ยังมีสภาพไมอยูตัวหรือเปนเลนเละ มีปริมาณเกลือเปนองคประกอบมาก บางแหงมีสารประกอบของ
                       ธาตุกํามะถันเปนองคประกอบอยูสูง สําหรับพื้นที่ปาพรุจะมีลักษณะดินสวนใหญเปนดินเหนียวปน

                       อินทรียสารสูงในสภาพน้ําขัง คาปฏิกิริยาดินจะเปนกลาง แตถาทําใหดินแหงจะกลายเปนดินกรดจัด
                       และเกิดการยุบตัวลงมาก

                                  3) ความตางระดับของพื้นที่หรือสภาพภูมิประเทศ (relief  หรือ topography) ใน

                       ที่นี้หมายถึงความสูงต่ําหรือระดับที่ไมเทากันของสภาพพื้นที่และความลาดชันของพื้นที่ จะมีความ
                       เกี่ยวของกับระดับน้ําใตดิน ซึ่งปจจัยเหลานี้จะมีอิทธิพลตอการเกิดลักษณะชั้นในหนาตัดดิน ความลึก

                       สี ความชื้นสัมพัทธ และความรุนแรงของการชะลาง เปนตน ตัวอยางเชน บริเวณพื้นที่ราบลุมน้ําทวมถึง

                       ลักษณะของชั้นดินที่เกิดขึ้นจะแยกออกจากกันใหเห็นไมชัดเจน ในชวงฤดูฝนจะมีน้ําขัง ระดับน้ําใตดิน
                       อยูตื้น ดินมีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว มักมีชั้นดินบนที่หนา เนื่องจากเปนแหลงทับถมของ

                       ตะกอนเนื้อละเอียด สวนบริเวณพื้นที่ดอน ดินมีการระบายน้ําดีปานกลางถึงดี การพัฒนาการของชั้นดิน

                       มีความชัดเจนและเปนไปอยางตอเนื่อง ดินที่เกิดในที่ที่มีความลาดชันสูง มักเปนดินตื้น มีชั้นดินนอย
                       การชะลางหนาดินมาก ชั้นดินบนจะบางหรืออาจไมมีชั้นดินบนเลยก็ได

                                  4) วัตถุตนกําเนิดดิน (soil parent material) วัตถุตนกําเนิดดินในที่นี้หมายถึง วัตถุ
                       ซึ่งเกิดจากการผุพังสลายตัวของหิน แร และเศษซากพืชและสัตว ซึ่งอาจเปนวัสดุที่เกิดจากการแปร

                       สภาพอยูกับที่ ณ บริเวณนั้น หรือเปนพวกตะกอนที่ถูกเคลื่อนยายมาจากแหลงอื่นโดยวัสดุนําพา เชน
                       น้ํา ลม หรือธารน้ําแข็ง แลวมาทับถมอยูในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง องคประกอบของวัสดุเหลานี้จะเปน

                       ปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอลักษณะและสมบัติของดินที่เกิดขึ้น วัตถุตนกําเนิดดินเปนปจจัยควบคุมการ

                       เกิดดินที่สําคัญและมองเห็นไดคอนขางชัดเจนที่สุด และมีอิทธิพลตอองคประกอบของดิน เชน สี เนื้อดิน
                       โครงสราง และสมบัติทางเคมีของดิน โดยทั่วไปดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดที่สลายตัวมาจากหินพวก

                       ที่มีปฏิกิริยาเปนดาง  (basic rock) มักจะเปนดินเนื้อละเอียด อาจมีสีดํา น้ําตาล เหลือง หรือแดง มี

                       ความอุดมสมบูรณตั้งแตระดับต่ําถึงสูง สวนดินที่เกิดจากหินพวกหินทรายหรือหินแกรนิต ที่มีแร
                       องคประกอบสวนใหญเปนพวกควอตซ จะมีปฏิกิริยาเปนกรด (acid rock) มักจะใหดินเนื้อหยาบ สีจาง มี

                       ธาตุอาหารพืชนอย ความอุดมสมบูรณและความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา เปนตน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17