Page 58 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       50



                              (5) ความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลง pH ของดิน อินทรียวัตถุในดินมีประจุลบเป็นจ านวน
                       มากและมีความสามารถดูดซับแคตไอออนได้สูง จึงท าให้ดินที่มีอินทรียวัตถุสูงมีความต้านทานต่อการ

                       เปลี่ยนแปลงพีเอชของดินได้ดี หรือมี buffering capacity สูงขึ้น ดังนี้

                                                        +
                                            Absorbed H                           Soil solution
                                            (reversed acidity)                           (active acidity)


                              จากปฏิกิริยาสมดุล (equilibrium reaction) นี้ ถ้ามีการเพิ่มสารประกอบที่มีสมบัติเป็นกรด

                       หรือเป็นด่างลงไปในดิน ปฏิกิริยาจะเกิดทันทีเพื่อรักษาสมดุลไว้ โอกาสที่กรดหรือด่างจะสะสมอยู่ใน
                       สารละลายดิน (soil solution) จึงมีน้อยมาก และเป็นเหตุให้พีเอชของดินเปลี่ยนแปลงไปเพียง
                       เล็กน้อยเท่านั้น ถ้าในดินมีอินทรียวัตถุสะสมอยู่ในปริมาณที่เหมาะสม

                              (6) แหล่งอาหารของจุลินทรีย์และธาตุอาหารพืช อินทรียวัตถุในดินเป็นแหล่งอาหารหรือ
                       แหล่งพลังงานที่ส าคัญที่สุด มีผลต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์โดยตรง เช่น การตรึงไนโตรเจน
                       กระบวนการ denitrification และการเกิดแก๊สมีเทน (CH4) เป็นต้น การย่อยสลายอินทรียวัตถุโดย

                       จุลินทรีย์นี้ ท าให้ธาตุองค์ประกอบของสารอินทรีย์ถูกปลดปล่อยออกมาให้เป็นประโยชน์ต่อพืช ซึ่งพืช
                       สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และก ามะถัน ในการสลายตัวของ
                       อินทรียวัตถุยังให้กรดคาร์บอนิคซึ่งเป็นกรดอินทรีย์ ที่ช่วยละลายสารประกอบของธาตุอาหารให้เป็น

                       ประโยชน์ต่อพืช และเกิดสารอินทรีย์ที่มีสมบัติเป็นสารคีเลต (chelating agent) ซึ่งจะรวมตัวกับ
                       ไอออนของจุลธาตุที่เป็นโลหะกลายเป็นคีเลตให้เป็นประโยชน์ต่อพืชได้มากขึ้น

                              ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่ออินทรียวัตถุเข้าสู่ระบบดิน คือปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยมีเอนไซม์
                       (enzyme) เป็นตัวช่วยท าให้ได้น้ า คาร์บอนไดออกไซด์ และพลังงานความร้อนออกมา ส าหรับธาตุ
                       อาหารที่จ าเป็นต่อพืช เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและก ามะถัน จะถูกปลดปล่อยออกมาหรืออาจจะ

                       ถูกตรึงไว้ โดยกระบวนการเฉพาะของแต่ละธาตุ นอกจากนี้แล้วสารประกอบต่างๆที่คงทนต่อกิจกรรม
                       ของจุลินทรีย์จะเกิดขึ้นใหม่โดยการสังเคราะห์ของจุลินทรีย์หรือเกิดขึ้นใหม่จากสารประกอบเดิม ที่มี
                       อยู่ในเนื้อเยื่อของพืชเหล่านั้น และปฏิกิริยาแต่ละอย่างจะมีความส าคัญในด้านอาหารพืชด้วย (เอิบ,
                       2548)

                              กระบวนการออกซิเดชันที่เกิดขึ้นกับสารอินทรีย์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นกลุ่มใด สามารถจะเขียน

                       แทนได้ด้วยสมการปฏิกิริยารวม โดยสารที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ ท าปฏิกิริยากับ
                       ออกซิเจน ผลที่ได้คือ คาร์บอนไดออกไซด์ น้ า และพลังงาน
                                                           Oxidation
                                       -C , 4H + 2O2                                     CO2 + 2H2O + พลังงาน
                                                           Enzyme
                               สารประกอบที่มีคาร์บอน
                               และไฮโดรเจน

                              ผลลัพธ์ที่ได้จากการสลายตัวของอินทรียวัตถุ เมื่อเกิดการสลายตัวขึ้นธาตุต่างๆจะเปลี่ยนรูป

                       ไปดังนี้
                                     คาร์บอน (C) จะเปลี่ยนเป็น CO2 , CO3 , HCO3  , CH4 , ธาตุคาร์บอน
                                                                     2-
                                                                             -
                                     ไนโตรเจน (N) จะเปลี่ยนเป็น NH4  , NO2  , NO3  , หรือเป็นก๊าซไนโตรเจน
                                                                              -
                                                                 +
                                                                        -
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63