Page 62 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       54



                                  พวกที่เป็นประโยชน์ต่อพืชได้ช้ามาก คือ ละลายได้น้อยมาก ได้แก่ พวกแร่ apatite
                       ชนิดต่างๆ สารประกอบเซิงซ้อนที่มีอายุมากพวกเหล็กฟอสเฟต แมงกานีสฟอสเฟต และอะลูมินัม

                       ฟอสเฟต เป็นต้น
                                   พวกที่เป็นประโยชน์ต่อพืชได้ช้า คือ ละลายได้น้อย ได้แก่ สารประกอบพวกที่เกิด
                       ใหม่พวกเหล็กฟอสเฟต แมงกานีสฟอสเฟต อะลูมินัมฟอสเฟต และ octa calcium phosphate
                                  พวกที่พร้อมจะเป็นประโยชน์ต่อพืช คือ ละลายได้ดี ได้แก่ Ca(H2PO4)2 และ

                              -
                       CaHPO4  เป็นต้น
                              (2) ปฏิกิริยาดิน (pH)
                                  การเปลี่ยนแปลงพีเอชของดิน มีผลต่อการละลายได้ของเหล็ก อะลูมินัม และแคลเซียม
                       ฟอสเฟต เมื่อดินมีความเป็นกรดหรือพีเอชต่ า เหล็กและอะลูมินัมไฮดรอกไซด์จะท าปฏิกิริยากับ
                       ไอออนฟอสเฟตเกิดเป็นเหล็กฟอสเฟตหรืออะลูมินัมฟอสเฟตที่ละลายยาก แต่เมื่อดินมี pH สูง หรือมี

                       ความเป็นด่างเพิ่มขึ้น เหล็กฟอสเฟตหรืออะลูมินัมฟอสเฟตจะปลดปล่อยไอออนฟอสเฟตออกสู่
                       สารละลายดินให้เป็นประโยชน์ต่อพืช ดังนี้

                                                       -
                                          Al(H2PO4)3 + 3OH                      Al(OH3) + 3H3PO4 -
                              ในทางตรงกันข้าม แคลเซียมฟอสเฟตในดิน ซึ่งเป็นสารประกอบที่ละลายยาก สามารถ
                       ละลายได้เพิ่มขึ้นเมื่อดินเป็นกรด

                                                     +                    2+                -
                                  Ca10(OH)2(PO4)6 + 14H                      10Ca  + 2H2O + 6H2PO4
                                                                                    3+
                                                                               2+
                                                                                             3+
                              (3) ไอออนเหล็กและอะลูมินัมที่ละลายอยู่ในดิน ทั้ง Fe , Fe  และ Al สามารถท า
                       ปฏิกิริยากับไอออนฟอสฟตได้ง่ายและรวดเร็วมาก เกิดเป็นสารประกอบที่ละลายน้ ายาก ส่งผลให้
                       ความเป็นประโยชน์ของฟอสเฟตในดินลดลง เมื่อดินอยู่ในสภาพที่เป็นกรดสารประกอบต่างๆของ
                                                                    3+
                                                               2+
                                                                             3+
                       เหล็กและอะลูมินัมจะละลายให้แคตไอออน Fe , Fe  และ Al  มากขึ้น เมื่อดินเป็นกรดมากขึ้น
                       และการละลายของแคตไอออนดังกล่าวจะลดลงเมื่อดินมีพีเอชสูงขึ้น เช่นเดียวกับ hydrous oxides
                       ของเหล็กและอะลูมินัม สามารถจะดูดซับไอออนฟอสเฟตไว้ได้มากในสภาพที่ดินเป็นกรด ดังนั้น ดิน
                       ยิ่งเป็นกรดมากเท่าไร การตรึงฟอสเฟตจะยิ่งมากขึ้นจึงท าให้ไอออนฟอสเฟตในสารละลายดินลดลง
                       ความเป็นประโยชน์ต่อพืชก็ลดน้อยลงด้วย

                              (4) แร่ดินเหนียวซิลิเกต แร่ดินเหนียวพวกเคโอลิไนท์ มอนต์มอริลโลไนท์ และอิลไลท์
                       สามารถจะตรึงฟอสเฟตได้ โดยที่แร่ประเภทนี้จะท าปฏิกิริยากับไอออนฟอสเฟตโดยกระบวนการ
                       surface reaction คือไอออนฟอสเฟตเข้าแทนที่ hydroxyl group ที่อยู่รอบๆผิวผลึกของแร่ดิน

                       เหนียวซิลิเกต จากนั้นไอออนฟอสเฟตนี้จะท าปฏิกิริยากับอะตอมของอะลูมินัมหรือเหล็กที่อยู่ใน
                       โครงสร้างของแร่ซิลิเกต ไอออนฟอสเฟตจึงกลายเป็นองค์ประกอบของแร่ดินเหนียว ดังสมการ

                               -Al-           -                              +
                                             + H2PO4  + 2H2O                              2H  +  -Al(OH)2H2PO4
                             (silicate crystal)                                                   แร่ฟอสเฟตที่ละลายน้ าได้ยาก

                              (5) แคลเซียมและแมกนีเซียมคาร์บอเนต ในดินที่มีพีเอชสูง เช่น ดินเนื้อปูน (calcareous
                                                                                                        2+
                       soil) จะมี CaCO3 และ MgCO3 สะสมอยู่ ไอออนฟอสเฟตจะท าปฏิกิริยาได้ดีและรวดเร็วกับ Ca
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67