Page 40 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      34

































                     ภาพที่ 6 พื นที่ลุ่มน ้ำรูปร่ำงต่ำงๆ
                     ที่มา : ดัดแปลงมำจำกค้ำรณ (2552)


                           3.6.4 สภำพกำรใช้ประโยชน์ที่ดิน ส่วนพืชที่ปกคลุมดินและสภำพกำรใช้ที่ดินในเขตพื นที่ลุ่มน ้ำ
                     ก็เป็นปัจจัยส้ำคัญที่มีควำมเกี่ยวข้องกับกำรเกิดปัญหำน ้ำท่วม ตำมท้องที่ต่ำงๆ ไม่น้อยเช่นเดียวกันเช่น
                     กำรบุกรุกแผ้ว ถำงป่ำไม้อันเป็นทรัพยำกรหลักในบริเวณพื นที่ต้นน ้ำล้ำธำร หรือในเขตพื นที่ลุ่มน ้ำทั่วไป
                     โดย ปรำศจำกกำรควบคุม ย่อมท้ำให้ผิวดินส่วนใหญ่ ขำดสิ่งปกคลุมในกำรช่วยดูดซึมน ้ำ หรืออำจท้ำ
                     ให้ผิวดินนั นแน่นขึ น ซึ่งจะมีผลให้เกิดน ้ำไหล บ่ำไปบนผิวดินอย่ำงรวดเร็ว จนกัดเซำะพังทลำย

                     ดินผิวหน้ำให้เสื่อมคุณภำพ และอำจเกิดปัญหำน ้ำท่วมอย่ำงฉับพลัน ในบริเวณพื นที่ลำดชันตอนล่ำงได้
                     พื นที่ส่วนใหญ่ ซึ่งแต่ก่อนเคยเป็นพื นที่ที่ประชำชนใช้ท้ำกำรเกษตรนั น ประกอบด้วยพื นที่ลุ่ม มีแอ่งน ้ำ
                     หนอง บึง และล้ำคลองธรรมชำติ เพื่อรับน ้ำเข้ำ และระบำยน ้ำออกจำกพื นที่ได้อย่ำงสะดวก หรือมี

                     ควำมสมดุลตำมสภำพธรรมชำติดี โดยไม่มีน ้ำท่วมขัง แต่เมื่อมีกำรพัฒนำพื นที่ดังกล่ำวให้เป็นชุมชน
                     แหล่งอุตสำหกรรม หรือที่อยู่อำศัย จึงมีกำรถมดินปรับพื นที่ สร้ำงถนน สิ่งก่อสร้ำงต่ำงๆ ขยำยตัวออกไป
                     เป็นบริเวณกว้ำง เป็นเหตุให้แอ่งน ้ำ หนอง บึง และล้ำคลองธรรมชำติทั งหลำยถูกท้ำลำยหมดไปและ
                     สำเหตุส้ำคัญก็คือ ภำยในเขตชุมชนที่ตั งขึ นใหม่หลำยแห่ง มักไม่ได้สร้ำงระบบกำรระบำยน ้ำออกจำกพื นที่

                     ให้เหมำะสมและมีประสิทธิภำพขึ นแทน ดังนั น เมื่อถึงเวลำที่มีฝนตกหนัก จึงท้ำให้เกิดน ้ำท่วมขังนำน
                     และควำมเสียหำยตำมมำ
                           3.6.5 ชนิดและกำรระบำยน ้ำของดิน ชนิดและขนำดของเม็ดดิน ลักษณะกำรเกำะรวมตัว และ
                     กำรทับถมของดินตำมธรรมชำติ เป็นปัจจัยที่จะท้ำให้กำรไหลซึมของน ้ำลงไปในดิน มีปริมำณมำก

                     หรือน้อยแตกต่ำงกัน เช่น ดินทรำยและกรวดจะสำมำรถรับน ้ำให้ซึมลงไปในดินได้มำกกว่ำดินที่มี
                     เนื อละเอียดประเภทดินเหนียว ซึ่งยอมให้น ้ำซึมผ่ำนผิวดินลงไปได้น้อยมำก ดังนั น เมื่อฝนตกหนักใน
                     บริเวณพื นที่ลุ่มน ้ำที่ผิวดินส่วนใหญ่เป็นดินเหนียว น ้ำฝนเกือบทั งหมดก็จะไหลไปบนผิวดินลงสู่ที่ต่้ำ
                     ล้ำธำร และแม่น ้ำทันที เป็นเหตุท้ำให้เกิดอุทกภัยขึ นได้โดยง่ำย
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45