Page 38 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      32



                     ฝนตกหนักและน ้ำท่วมฉับพลันในหลำยพื นที่ เช่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง
                     นครศรีธรรมรำช สุรำษฎร์ธำนี สงขลำ พัทลุง ตรัง ปัตตำนี กระบี่และสตูล พื นที่ได้รับควำมเสียหำย
                     รวมทั งสิ น 74 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของได้รับควำมเสียหำยประมำณ 6,099,777 ล้ำนไร่ มูลค่ำควำม

                     เสียหำย 1,841 ล้ำนบำท
                     ตารางที่ 7 สถิติสถำนกำรณ์อุทกภัยของประเทศไทย (ตั งแต่ปี พ.ศ. 2545–2556)


                             พื นที่ประสบภัย   ราษฎร์ประสบภัย  ราษฎร์ประสบภัย  พื นที่การเกษตรเสียหาย  มูลค่าความเสียหาย
                      พ.ศ.
                            จังหวัด  หมู่บ้าน   (คน)         (ครัวเรือน)         (ไร่)           (ล้านบาท)

                      2545    72    18,510    5,127,652      1,373,942        10,435,115       13,385,316,549
                      2546    66    5,281     1,882,017       485,436          1,595,557        2,050,262,243

                      2547    59    9,964     2,324,441       619,797          3,298,733        850,659,584
                      2548    63    10,326    2,874,673       763,847          1,701,450        5,982,283,276

                      2549    58    22,771    6,050,674      1,673,822         6,560,541        9,627,418,620

                      2550    54    12,848    2,326,179       571,566          1,617,284        1,687,865,982
                      2551    65    38,448    7,921,127      2,031,943         6,590,655        7,601,796,302

                      2552    64    33,847    8,881,758      2,308,969         2,958,523        5,252,613,976
                      2553    74    48,488    13,485,963     3,917,333        10,909,561       16,338,772,341

                      2554    74    53,380    16,224,302     5,247,125        11,798,241       23,839,219,356
                      2555    28    8,012     1,733,890       541,006              -                 -
                      2556    74    35,765    5,923,380      1,907,472         6,099,777        1,841,217,148

                     ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย (2556)


                     3.6  ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดน ้าท่วม
                           กำรเกิดอุทกภัยขึ นอยู่กับปัจจัยหลำยปัจจัยร่วมกัน  อำจเกิดขึ นเนื่องจำกปัจจัยควำมผันแปรจำก
                     ธรรมชำติหรือจำกกำรกระท้ำของมนุษย์เป็นตัวเร่ง โดยมีปัจจัยที่ส่งผลต่อกำรเกิดน ้ำท่วมดังต่อไปนี
                           3.6.1 ปริมำณน ้ำฝน เมื่อฝนตกลงมำบนผิวดิน จะมีน ้ำบำงส่วนขังอยู่บนผิวดิน และบำงส่วน

                     ซึมลงไปสะสมอยู่ในดิน และเมื่อมีฝนตกมำกขึ น น ้ำจะไม่สำมำรถซึมลงไปในดิน หรือขังอยู่บนผิวดิน
                     ได้หมด จึงเกิดน ้ำไหลนองไปบนผิวดิน ซึ่งรวมแล้วจะมีปริมำณมำกหรือน้อย สัมพันธ์กับปริมำณและ
                     พฤติกรรมของฝนเสมอ จำกนั นน ้ำจะไหลลงสู่ที่ลุ่มต่้ำ ล้ำน ้ำล้ำธำร แล้วไหลลงสู่แม่น ้ำและทะเลต่อไป
                                ฝนในประเทศไทย ส่วนใหญ่ได้มำจำกลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จำกพำยุหมุนที่เกิดใน

                     ทะเลจีนใต้ ซึ่งเป็นพำยุจรที่พัดมำทำงทิศตะวันออกของประเทศ ได้แก่ พำยุไต้ฝุ่น พำยุโซนร้อน และ
                     พำยุดีเปรสชันเป็นหลัก ตลอดจนฝนที่น้ำมำโดยพำยุหมุนซึ่งเกิดขึ นเป็นครั งครำวในอ่ำวเบงกอลแล้ว
                     พัดผ่ำนประเทศไทย พำยุที่น้ำฝนปริมำณมำกเข้ำมำตกตำมภูมิภำคต่ำงๆ ทั่วประเทศไทย จนเกิดน ้ำท่วมใหญ่

                     และอุทกภัย ในแต่ละปีนั นจึงได้แก่พำยุจรที่พัดมำทำงทิศตะวันออกผ่ำนประเทศไทย และพำยุหมุนที่
                     เกิดขึ นเป็นครั งครำวในอ่ำวเบงกอลนั่นเองฝนที่เกิดจำกพำยุดีเปรสชั่น พำยุโซนร้อน และพำยุไต้ฝุ่นมัก
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43