Page 37 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      31



                     ได้รับควำมเสียหำยรวมทั งสิ น 74 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของได้รับควำมเสียหำยประมำณ
                     10,909,561 ไร่ มูลค่ำควำมเสียหำย 16,338 ล้ำนบำท
                           - ปี 2554 เกิดอุทกภัยรุนแรงที่เกิดขึ นระหว่ำงฤดูมรสุมในประเทศไทย ซึ่งเกิดผลกระทบต่อ

                     บริเวณลุ่มแม่น ้ำเจ้ำพระยำและลุ่มน ้ำโขง เริ่มตั งแต่ปลำยเดือนกรกฎำคมและสิ นสุดเมื่อวันที่ 16
                     มกรำคม พ.ศ. 2555 อุทกภัยครั งนี ถูกกล่ำวว่ำเป็น อุทกภัยครั งร้ำยแรงที่สุดทั งในแง่ของปริมำณน ้ำและ
                     จ้ำนวนผู้ได้รับผลกระทบอุทกภัยครั งนี เริ่มขึ นในระหว่ำงฤดูมรสุม เมื่อพำยุหมุนนกเตนขึ นฝั่งทำง
                     ตอนเหนือของเวียดนำม ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักทำงภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือของ
                     ประเทศไทย และท้ำให้เกิดอุทกภัยในหลำยจังหวัดเริ่มตั งแต่วันที่ 31 กรกฎำคม เกิดอุทกภัยใน 16 จังหวัด

                     ขณะที่ฝนยังคงตกลงมำอย่ำงหนัก และภำยในเวลำไม่นำนก็เกิดอุทกภัยทำงภำคใต้และภำคกลำง
                     เมื่อแม่น ้ำเจ้ำพระยำได้รับน ้ำปริมำณมำกจำกแม่น ้ำสำขำ จึงส่งผลกระทบต่อหลำยจังหวัดในภำคกลำง
                     จนถึงวันที่ 4 ตุลำคม 2554 จังหวัดยังได้รับผลกระทบ และเสี่ยงต่ออุทกภัยเพิ่มเติมต่อเนื่องด้วยเขื่อน

                     ส่วนใหญ่มีระดับน ้ำใกล้หรือเกินควำมจุท้ำให้ต้องเร่งระบำยน ้ำออกจำกเขื่อนโดยก่อนหน้ำนี ได้เกิด
                     อุทกภัยและดินถล่มทำงภำคใต้ของประเทศไทย ซึ่งเริ่มตั งแต่วันที่ 23 มีนำคมแล้ว เหตุกำรณ์ดังกล่ำว
                     ท้ำให้มีผู้เสียชีวิตอย่ำงน้อย 53 คน และสร้ำงควำมเสียหำยมำกมำยประเทศไทยอยู่ในเขตร้อน
                     หลำยภำคส่วนของประเทศจึงมักเกิดน ้ำท่วมฉับพลันตำมฤดูกำล อุทกภัยมักเริ่มขึ นในภำคเหนือแล้ว

                     ค่อยขยำยวงลงมำตำมแม่น ้ำเจ้ำพระยำผ่ำนที่รำบภำคกลำง ในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ตำมแม่น ้ำชี
                     และมูล ซึ่งไหลลงแม่น ้ำโขง หรือในพื นที่ลำดเขำชำยฝั่งในภำคตะวันออกและภำคใต้ ส่วนที่เหลือของ
                     พำยุหมุนเขตร้อนซึ่งพัดถล่มประเทศเวียดนำมหรือคำบสมุทรทำงใต้เพิ่มปริมำณน ้ำฝนโดยทั่วไป
                     ซึ่งส่งผลให้เกิดควำมเสี่ยงต่ออุทกภัยมำกขึ นไปอีก ถึงแม้ว่ำประเทศไทยจะมีระบบควบคุมกำรระบำยน ้ำ

                     รวมถึงเขื่อนหลำยแห่ง คลองชลประทำนและพื นที่รับน ้ำ (แก้มลิง) แต่ยังไม่เพียงพอต่อกำรป้องกัน
                     ควำมเสียหำยอันเกิดจำกอุทกภัย พื นที่ได้รับควำมเสียหำยรวมทั งสิ น 74 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของ
                     ได้รับควำมเสียหำยประมำณ 11,798,241 ไร่ มูลค่ำควำมเสียหำย 23,839 ล้ำนบำท
                           - ปี 2555 เริ่มเกิดอุทกภัยขึ นในภำคเหนือและภำคใต้ซึ่งเริ่มมีควำมชัดเจนในช่วงปลำยเดือน

                     พฤษภำคมเนื่องจำกอิทธิพลของร่องมรสุมพำดผ่ำนภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
                     ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ก้ำลังแรงพัดปกคลุมทะเลอันดำมัน ประเทศไทย และอ่ำวไทยซึ่งท้ำ
                     ให้ทั่วทุกภำคของประเทศมีฝนตกชุกหนำแน่นและมีฝนตกหนักบำงแห่งโดยวันที่ 27 พฤษภำคม

                     พ.ศ. 2555 ได้เกิดพำยุฝนฟ้ำคะนองพัดถล่มบ้ำนเรือนประชำชนได้รับควำมเสียหำยท้ำให้จังหวัดสงขลำ
                     ได้ประกำศให้พื นที่ 4 อ้ำเภอ ของจังหวัด เป็นเขตภัยพิบัติฉุกเฉิน ประกอบด้วย อ้ำเภอหำดใหญ่
                     นำหม่อม สะเดำ และ คลองหอยโข่ง และเมื่อวันที่ 6 มิถุนำยน พ.ศ. 2555 ได้เกิดอุทกภัยในพื นที่
                     5 จังหวัดภำคใต้คือ จังหวัดกระบี่ ภูเก็ต ระนอง ชุมพร และสุรำษฎร์ธำนี พื นที่ได้รับควำมเสียหำย
                     รวมทั งสิ น 28 จังหวัด

                           - ปี 2556 เริ่มเกิดอุทกภัยชัดเจน ในช่วงเดือนกันยำยนถึงเดือนตุลำคม จำกอิทธิพลร่องมรสุมที่
                     พำดผ่ำนประเทศไทยในพื นที่ภำคเหนือบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตำก ก้ำแพงเพชร
                     นครสวรรค์ และอุทัยธำนี ภำคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ นครรำชสีมำ

                     บุรีรัมย์ และมหำสำรคำม รวมทั งภำคกลำงและภำคตะวันออกอย่ำงต่อเนื่อง ท้ำให้มีฝนตกหนักถึง
                     หนักมำกบริเวณจังหวัดลพบุรี สระบุรี ฉะเชิงเทรำ สระแก้ว ระยอง จันทบุรี และตรำด และลมมรสุม
                     ตะวันออกเฉียงใต้ก้ำลังค่อนข้ำงแรงพัดปกคลุมบริเวณภำคใต้ตอนล่ำงและทะเลอันดำมัน ส่งผลให้เกิด
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42