Page 45 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      39



                     ภาคใต้ยังไม่ได้มีการขยายของเมืองมากเท่าปัจจุบัน ท าให้น้ าท่วมขังที่เกิดขึ้นในช่วงหน้าฝนถูกระบายลง
                     ทะเลได้อย่างเร็ว แม้จะมีน้ าท่วมแต่ก็สามารถระบายได้อย่างรวดเร็ว แต่ปัจจุบันสิ่งก่อสร้างไปขวางทาง
                     น้ าไหลตามธรรมชาติ เช่น หมู่บ้านจัดสรร การถมที่เพื่อเตรียมก่อสร้างท าทางระบายน้ าถูกตัดขาด

                     การสร้างถนนเรียบริมทะเลที่สูงเกินท าให้สภาพเป็นสันเขื่อนที่ปิดกั้นทางน้ าไหลลงสู่ทะเล ท่อระบายน้ ามี
                     ขยะกีดขวางทางไหลน้ า พื้นที่คลองส่งน้ าถูกถมท าให้น้ าไม่มีที่ระบาย จนท าให้เกิดน้ าท่วมขึ้นในเขตเมือง
                     และพื้นที่โดยรอบ พื้นที่ที่เกิดน้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า ได้แก่ อ าเภอปากพนัง จ านวน 800805 ไร่
                     อ าเภอเมือง จ านวน 43,646 ไร่ และอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จ านวน 30,990 ไร่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
                     เป็นต้น

                                ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกนั้น ลุ่มน้ ามีขนาดเล็ก แต่มีความลาดชันรวมค่อนข้างสูงและปริมาณฝน
                     โดยทั่วไปจะสูงกว่าฝั่งตะวันออก อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสภาวะโดยทั่วไปจะเอื้ออ านวยให้เกิดน้ าท่วมได้
                     เป็นอย่างดี แต่พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดน้ าท่วมมีน้อย ได้แก่ บริเวณที่ราบน้ าทะเลท่วมถึงในปัจจุบัน

                     ส่วนนอกนั้นจะเป็นที่ราบแคบๆ ตามล าน้ า และเนื่องจากทางน้ าส่วนใหญ่มีความลาดชันค่อนข้างสูง
                     การเกิดน้ าท่วมจะไม่ท่วมขังนาน เนื่องจากมีการระบายลงสู่ทะเลได้เร็วและสะดวก ผลกระทบจึงมีน้อยกว่า
                     ฝั่งตะวันออก ได้แก่ จังหวัดพังงา ตรัง และสตูล เป็นต้น
                           4.1.2 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี

                                พื้นที่เหล่านี้จะอยู่ในบริเวณที่มีปริมาณน้ าฝนต่อปีต่ ากว่า ,0000 มิลลิเมตร หรือไม่ก็เป็น
                     บริเวณที่ความลาดของทางน้ าต่ า บริเวณที่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ระยะทางจากสันปันน้ าของลุ่มน้ าจนถึง
                     ปากแม่น้ าค่อนข้างยาว ซึ่งจะสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน เช่น ลุ่มน้ าภาคใต้ตอนบน
                     ลุ่มน้ าปัตตานี และลุ่มน้ าทะเลสาบสงขลา จะเกิดน้ าท่วมบ้างแต่ไม่บ่อยครั้ง ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกนั้น

                     จะจ ากัดเฉพาะในบริเวณที่มีปริมาณน้ าฝนค่อนข้างสูงเท่านั้น สภาพการเกิดอุทกภัยในลุ่มน้ า
                     แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะเช่นกัน คือ อุทกภัยที่เกิดในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ าตอนบนและล าน้ าสาขาต่างๆ
                     เกิดจากการที่มีฝนตกหนักและน้ าป่าไหลหลากจากต้นน้ าลงมามากจนล าน้ าสายหลักไม่สามารถระบายน้ าได้ทัน
                     ประกอบกับมีสิ่งกีดขวางจากเส้นทางคมนาคมขวางทางน้ า  และมีการระบายน้ าไม่เพียงพอ พื้นที่ที่เกิด

                     น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบไปด้วย อ าเภอปากพนัง จ านวน 118,946 ไร่
                     อ าเภอหัวไทร จ านวน 93,266 ไร่ และอ าเภอเมือง จ านวน 65,413 ไร่ จังหวัดพัทลุง ได้แก่ อ าเภอเมืองพัทลุง
                     จ านวน 44,029 ไร่ และจังหวัดสงขลา ได้แก่ อ าเภอระโนด จ านวน 95,625 ไร่ เป็นต้น

                           4.1.3 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                                พื้นที่ที่มีโอกาสที่จะเกิดน้ าท่วมระดับต่ า พื้นที่ดังกล่าวนี้มีอยู่เพียงบริเวณเดียว คือบริเวณ
                     ลุ่มน้ าชายฝั่งทะเลจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งมีปริมาณน้ าฝนค่อนข้างต่ าน้อยกว่า 1,300 มิลลิเมตร
                     มีระยะห่างจากล าน้ ามาก สภาพความลาดชันของพื้นที่ลุ่มน้ ามากน้ าสามารถไหลลงสู่ทางน้ าได้อย่างรวดเร็ว
                     พื้นที่นี้จึงประสบกับปัญหาน้ าท่วมน้อยมาก และมักเกิดการท่วมขังเป็นระยะเวลาสั้น จึงไม่ส่งผลกระทบ

                     ต่อพื้นที่การเกษตรมากนัก พื้นที่ที่เกิดน้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
                     ประกอบไปด้วย อ าเภอปากพนัง จ านวน 265,023 ไร่ อ าเภอหัวไทร จ านวน 259,829 ไร่ และอ าเภอชะ
                     อวด จ านวน 245,165 ไร่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ อ าเภอพุนพิน จ านวน 219,727 ไร่ เป็นต้น
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50