Page 36 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 36
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
30
(ปี 2551 มีปริมำณฝน 1751.4 มิลลิเมตรสูงกว่ำค่ำปกติ 11 เปอร์เซ็นต์) และในปีนี มีพำยุหมุนเขตร้อน
เคลื่อนเข้ำสู่ประเทศไทยเพียง 1 ลูกคือพำยุดีเปรสชันที่อ่อนก้ำลังลงจำกไต้ฝุ่น“กิสนำ” โดยเคลื่อน
เข้ำสู่ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณอ้ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลรำชธำนีเมื่อวันที่ 30 กันยำยนและ
อ่อนก้ำลังลงเป็นหย่อมควำมกดอำกำศต่้ำก้ำลังแรงปกคลุมบริเวณจังหวัดอุบลรำชธำนีและศรีสะเกษ
ในวันต่อมำส่งผลให้ประเทศไทยมีกำรกระจำยของฝนเพิ่มขึ นกับมีฝนหนักถึงหนักมำกบำงพื นที่
โดยเฉพำะบริเวณภำคตะวันออกเฉียงเหนือและภำคกลำงและมีรำยงำนน ้ำท่วมบำงพื นที่ในช่วงดังกล่ำว
ในช่วงกลำงเดือนมิถุนำยนและกลำงเดือนกรกฎำคม ร่องควำมกดอำกำศต่้ำพำดผ่ำนบริเวณภำคเหนือ
และภำคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยรวมทั งอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ก้ำลังแรงพัดปกคลุม
ทะเลอันดำมัน ประเทศไทย และอ่ำวไทย ท้ำให้บริเวณดังกล่ำวมีฝนตกค่อนข้ำงหนัก โดยเฉพำะจังหวัด
อุตรดิตถ์ แพร่ สุโขทัยท้ำให้เกิดน ้ำท่วมฉับพลันและน ้ำป่ำไหลหลำก ในพื นที่ดังกล่ำวและในพื นที่
4 จังหวัดภำคใต้ ได้แก่ จังหวัดพังงำ ระนอง สตูล และตรัง ส่วนในช่วงกรกรกฎำคมถึงกันยำยน
อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ก้ำลังแรงพัดปกคลุมทะเลอันดำมัน ประเทศไทยและอ่ำวไทย
ประกอบกับร่องควำมกดอำกำศต่้ำพำดผ่ำนภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ท้ำให้เกิดน ้ำท่วม
ฉับพลันและน ้ำป่ำไหลหลำก ในพื นที่จังหวัดภำคตะวันออกได้แก่ จังหวัดระยอง จันทบุรี ตรำด
เชียงรำย น่ำน ลพบุรี และล้ำปำง และช่วงต้นเดือนพฤศจิกำยนอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ก้ำลังแรงพัดปกคลุมภำคใต้และอ่ำวไทยในช่วงวันที่ 3-8 พฤศจิกำยน ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักและ
เกิดน ้ำท่วมในพื นที่ภำคใต้ ได้แก่ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี นครศรีธรรมรำช พัทลุง ชุมพรสงขลำ สตูล ตรัง
นรำธิวำส ยะลำ และปัตตำนี พื นที่ได้รับควำมเสียหำยรวมทั งสิ น 64 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของได้รับ
ควำมเสียหำยประมำณ 2,958,523 ไร่ มูลค่ำควำมเสียหำย 5,252 ล้ำนบำท
- ปี 2553 เกิดเหตุกำรณ์น ้ำท่วมในประเทศไทยหนักที่สุดในรอบหลำยสิบปี เนื่องจำกมีฝนตกหนัก
ในหลำยพื นที่ ในช่วงเดือนตุลำคม-พฤศจิกำยน ก่อให้เกิดควำมเสียหำยทั งชีวิตและทรัพย์สินในหลำยพื นที่
ซึ่งอุทกภัยครั งนี เริ่มขึ นตั งแต่วันที่ 10 ตุลำคม พ.ศ. 2553 จนกระทั่งสถำนกำรณ์คลี่คลำยทั งหมด
เมื่อวันที่ 14 ธันวำคม พ.ศ. 2553 ซึ่งมีสำเหตุกำรเกิดมำจำกอิทธิพลของร่องควำมกดอำกำศต่้ำพำดผ่ำน
ภำคใต้ตอนบน ภำคกลำงและภำคตะวันออก และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ท้ำให้ประเทศไทยมีฝนตกชุก
หนำแน่นและมีฝนตกหนักถึงหนักมำก หลำยพื นที่เกิดน ้ำท่วมเฉียบพลัน น ้ำป่ำไหลหลำก เข้ำท่วม
บ้ำนเรือนรำษฎร์และพื นที่กำรเกษตร โดยร่องมรสุมก้ำลังแรงดังกล่ำวมีสำเหตุจำกปรำกฏกำรณ์ลำนิญำ
ที่มำเร็วกว่ำปกติ โดยฝนได้ตกลงมำในพื นที่หลังเขำเป็นเวลำหลำยวันเฉลี่ยมำกกว่ำ 100 มิลลิเมตรต่อวัน
ประกอบกับควำมแปรปรวนของร่องฝน ซึ่งปกติจะต้องเคลื่อนลงไปแถวภำคใต้แล้ว ท้ำให้ปริมำณน ้ำใน
อ่ำงเก็บน ้ำหลำยแห่งมีปริมำณน ้ำเกินกว่ำระดับกักเก็บ โดยเฉพำะเขื่อนล้ำพระเพลิง เขื่อนล้ำตะคอง
เขื่อนป่ำสักชลสิทธิ์ จนต้องเร่งระบำยน ้ำออกสู่พื นที่ท้ำยเขื่อน ซึ่งท้ำให้หลำยพื นที่เกิดอุทกภัยอย่ำงหนัก
เป็นเวลำเกือบหนึ่งเดือนที่พื นที่ได้รับผลกระทบจำกอุทกภัยและมีผู้เสียชีวิต โดยอุทกภัยใน
จังหวัดนครรำชสีมำ ยังพบว่ำมีสำเหตุมำกจำกกำรรุกล ้ำล้ำน ้ำล้ำตะคองและล้ำพระเพลิง ท้ำให้พื นที่
ไม่สำมำรถเก็บกักน ้ำเอำไว้ได้ ส่วนอุทกภัยในภำคใต้ระบุว่ำเกิดจำกอิทธิพลของพำยุดีเปรสชั่นบริเวณ
อ่ำวไทยตอนล่ำงเคลื่อนตัวผ่ำนภำคใต้ ท้ำให้ภำคใต้มีฝนตกชุกหนำแน่น และมีฝนตกหนักถึงหนักมำก
ในหลำยพื นที่ ท้ำให้เกิดน ้ำท่วมเฉียบพลัน น ้ำป่ำไหลหลำก เข้ำท่วมบ้ำนเรือนรำษฎร์และพื นที่กำรเกษตร
วำตภัยและคลื่นมรสุมซัดฝั่งรวมทั งพำยุไซโคลน“จำล” ท้ำให้ผลกระทบจำกอุทกภัยเพิ่มมำกขึ นพื นที่