Page 39 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      33



                     เริ่มตกในภำคกลำง ภำคเหนือ และภำคตะวันออกเฉียงเหนือประมำณเดือนมิถุนำยน ตำมจ้ำนวนพำยุ
                     ที่เกิดขึ นตำมธรรมชำติในทะเลจีนใต้ ครั งถึงเดือนกรกฎำคมแนวทำงของพำยุมักเคลื่อนไปอยู่ใน
                     แนวเหนือประเทศไทยพอถึงเดือนสิงหำคมพำยุจรนี  จะมีแนวพัดผ่ำนเข้ำมำในประเทศไทยอีก

                     แล้วมีแนวร่นต่้ำลงมำทำงภำคกลำง และภำคใต้ ตำมล้ำดับ ตั งแต่เดือนสิงหำคมถึงเดือนกันยำยนท้ำให้
                     ในภำคเหนือ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และภำคกลำง ตลอดจนภำคอื่นๆ ได้รับฝนตกหนัก เนื่องจำก
                     อิทธิพลของพำยุจรแต่ละประเภทดังกล่ำวแล้วเกิดน ้ำไหลบ่ำบนผิวดิน และไหลลงสู่ล้ำธำรและแม่น ้ำ
                     มีปริมำณมำกจนบำงปีถึงกับเกิดน ้ำท่วมใหญ่ และเกิดอุทกภัยอย่ำงรุนแรงในท้องที่ต่ำงๆ สภำพของ
                     ฝนที่ตกในพื นที่ลุ่มน ้ำ โดยทั่วไปจะมีอิทธิพลโดยตรงต่อจ้ำนวนน ้ำที่เกิดขึ น ในล้ำธำรและแม่น ้ำ

                     ปริมำณจะน้อยหรือมำกเพียงใดขึ นอยู่กับควำมเข้มของฝนที่ตก ระยะเวลำที่ฝนตก และกำรแผ่กระจำย
                     ของฝนที่ตกในบริเวณพื นที่ลุ่มน ้ำ
                           3.6.2 ระยะห่ำงจำกทำงน ้ำหรือล้ำน ้ำ โดยทั่วไปพื นที่รำบลุ่มตำมบริเวณสองฝั่งแม่น ้ำที่อยู่ห่ำง

                     จำกปำกอ่ำว หรือทะเลไม่ไกลนัก ระดับน ้ำในแม่น ้ำบริเวณนั น มักจะอยู่ในอิทธิพลน ้ำขึ นน ้ำลง
                     อันเนื่องมำจำกระดับน ้ำทะเลหนุนตลอดเวลำ เมื่อน ้ำที่ไหลหลำกลงมำตำมแม่น ้ำครำวใด มีปริมำณมำก
                     และตรงกับฤดูกำล หรือช่วงเวลำที่ระดับน ้ำทะเลหนุนสูงเกินกว่ำปกติ ก็จะท้ำให้เกิดสภำวะน ้ำท่วมและ
                     อุทกภัย แก่พื นที่ท้ำกำรเกษตร และในเขตที่อยู่อำศัยอย่ำงรุนแรงเสมอมำ

                           3.6.3 สภำพภูมิประเทศ ขนำดของพื นที่ลุ่มน ้ำ ควำมยำวและควำมกว้ำงของพื นที่ลุ่มน ้ำโดย
                     เฉลี่ยระดับควำมสูง ควำมลำดชันของล้ำน ้ำ และควำมลำดชันของพื นที่ลุ่มน ้ำ รวมทั งแนวทิศทำงของ
                     พื นที่ลุ่มน ้ำ ล้วนมีอิทธิพลโดยตรงต่อกำรเกิดน ้ำท่ำ และกำรเกิดน ้ำท่วมตำมที่ลุ่มต่ำงๆ เมื่อมีฝนตกหนักเสมอ
                     โดยเฉพำะลักษณะและส่วนประกอบของพื นที่ลุ่มน ้ำ รูปร่ำงของพื นที่ลุ่มน ้ำ เป็นปัจจัยส้ำคัญในกำรท้ำ

                     ให้เกิดน ้ำท่วมมำกหรือน้อยแตกต่ำงกัน ดังนี
                                1)  พื นที่ลุ่มน ้ำซึ่งมีรูปร่ำงคล้ำย รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ เรียกว่ำ "ลุ่มน ้ารูปขนนก" จะเกิดปัญหำ
                     น ้ำท่วมหรืออุทกภัยในบริเวณที่ลุ่มไม่มำกนัก ทั งนี เพรำะน ้ำฝนที่ตกในเขตพื นที่ลุ่มน ้ำ ของแต่ละแคว
                     สำขำจะทยอยไหลลงสู่ล้ำน ้ำสำยใหญ่ในเวลำที่ไม่พร้อมกัน

                                2) พื นที่ลุ่มน ้ำซึ่งมีรูปร่ำงค่อน ข้ำงกลม หรือเป็นรูปพัดเรียกว่ำ "ลุ่มน ้ารูปกลม" จะมี
                     ล้ำน ้ำสำขำไหลลงสู่ล้ำน ้ำสำยใหญ่ ที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง จำกโดยรอบเป็นรัศมีของวงกลม พื นที่ลุ่มน ้ำ
                     ลักษณะนี  น ้ำจำกล้ำน ้ำสำขำต่ำงๆ มักจะไหลมำรวมกันที่ล้ำน ้ำสำยใหญ่ ในเวลำใกล้เคียงกัน จึงท้ำให้

                     เกิดน ้ำท่วมใหญ่ในพื นที่บริเวณล้ำน ้ำสำขำบรรจบกันเสมอ
                                3)  พื นที่ลุ่มน ้ำซึ่งประกอบด้วย พื นที่ลุ่มน ้ำสองส่วนรวมกัน เรียกว่ำ "ลุ่มน ้ารูปขนาน" มักจะ
                     เกิดน ้ำท่วมใหญ่ ในบริเวณพื นที่ตอนล่ำง จำกจุดบรรจบของพื นที่ลุ่มน ้ำสองส่วนนั น
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44