Page 34 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งบริเวณภำคเหนือมีฝนตกหนักอย่ำงต่อเนื่องเกิดน ้ำป่ำไหลหลำกเข้ำท่วมพื นที่นำ
เสียหำยจ้ำนวนมำก พื นที่ได้รับควำมเสียหำยรวม 59 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของได้รับควำมเสียหำย
ประมำณ 3,298,733 ไร่ มูลค่ำควำมเสียหำย 850 ล้ำนบำท
- ปี 2548 ช่วงวันที่ 12 -13 สิงหำคม ได้เกิดพำยุดีเปรสชั่นบริเวณภำคเหนือท้ำให้เกิดฝนตกหนัก
ในหลำยพื นที่ของจังหวัดเชียงใหม่ เชียงรำย แม่ฮ่องสอน น่ำน และล้ำปำงซึ่งภำยหลังจำกฝนถล่มหนัก
ในภำคเหนือตอนบนท้ำให้หลำยจังหวัด ถูกน ้ำป่ำทะลักเข้ำท่วมจมบำดำลโดยเฉพำะที่ อ้ำเภอปำงมะผ้ำ
อ้ำเภอปำย จังหวัดแม่ฮ่องสอน และตำมอ้ำเภอรอบนอกในพื นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงรำย น่ำนและ
ล้ำปำงและในช่วงปลำยเดือนกันยำยนอิทธิพลของพำยุไต้ฝุ่น “ดอมเรย” ส่งผลให้เกิดฝนตกใน
ภำคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพำะบริเวณจังหวัดนครพนม มุกดำหำร สกลนคร อุดรธำนี และ
หนองคำยซึ่งท้ำให้เกิดภำวะน ้ำป่ำไหลหลำกและน ้ำท่วมฉับพลัน จำกนั นช่วง 21-27 ตุลำคม พำยุฝนพัด
กระหน่้ำติดต่อกัน ท้ำให้น ้ำป่ำจำกเทือกเขำตะนำวศรีไหล่บ่ำท่วมพื นที่หลำยอ้ำเภอของจังหวัดชุมพร
ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี รำชบุรี และกำญจนบุรี จำกนั นช่วงเดือนธันวำคม มีกลุ่มเมฆปกคลุมภำคใต้
ของประเทศไทยตั งแต่ช่วงต้นเดือนจนถึงปลำยเดือนประกอบกับอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
พัดปกคลุมอ่ำวไทยและภำคใต้ท้ำให้เกิดฝนตกหนักติดต่อกัน จึงท้ำให้เกิดน ้ำท่วมอย่ำงหนักบริเวณ
ภำคใต้ตอนล่ำง ได้แก่ จังหวัดสงขลำ นครศรีธรรมรำช ปัตตำนี นรำธิวำส พัทลุงตรัง ยะลำ และสตูล
รวม 63 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของได้รับควำมเสียหำยประมำณ 1,701,450 ไร่ มูลค่ำควำมเสียหำย
5,982 ล้ำนบำท
- ปี 2549 ในช่วงเดือนพฤษภำคมมีกลุ่มเมฆปกคลุมภำคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพำะ
ในช่วงวันที่ 21-23 พฤษภำคม จะเห็นว่ำมีกลุ่มเมฆหนำบริเวณภำคเหนือตอนล่ำง บริเวณจังหวัดแพร่
อุตรดิตถ์ สุโขทัยท้ำให้เกิดฝนตกหนักในบริเวณดังกล่ำวประกอบกับร่องควำมกดอำกำศต่้ำหรือร่องฝนได้
พำดผ่ำนภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนท้ำให้บริเวณดังกล่ำวมีฝนตกหนักเกิดขึ นและ
เกิดน ้ำท่วมฉับพลันและร้ำยแรงในรอบ 38 ปี ที่ก่อให้เกิดควำมสูญเสียทั งชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชำชน
ในพื นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย แพร่ ล้ำปำง และน่ำน จำกนั นในช่วงเดือนกันยำยนถึงตุลำคม มีอิทธิพล
ของพำยุ "ช้ำงสำร" ได้เคลื่อนตัวเข้ำสู่ประเทศไทยทำงภำคตะวันออกเฉียงเหนือและพัดผ่ำนภำคเหนือ
และภำคกลำง จึงท้ำให้เกิดฝนตกหนักอย่ำงต่อเนื่องเป็นผลท้ำให้เกิดน ้ำท่วมอย่ำงหนักเป็นบริเวณกว้ำง
จำกพื นที่น ้ำท่วมตั งแต่เดือนพฤษภำคมถึงเดือนตุลำคม จะเห็นได้ว่ำในช่วงเดือนพฤษภำคมถึงสิงหำคม
เกิดน ้ำท่วมบริเวณภำคเหนือ ในพื นที่จังหวัด น่ำนแพร่ สุโขทัย พิษณุโลก อุตรดิตถ์หลังจำกนั นน ้ำเหนือ
ได้ไหลเข้ำสู่พื นที่ภำคกลำงท้ำให้เกิดน ้ำท่วมตั งแต่จังหวัดก้ำแพงเพชร นครสวรรค์ ชัยนำท สิงห์บุรี
อ่ำงทอง สุพรรณบุรี อยุธยำปทุมธำนี นนทบุรี รวมถึงกรุงเทพมหำนครได้รับควำมเสียหำยพื นที่ได้รับ
ควำมเสียหำยรวมทั งสิ น 58 จังหวัด พื นที่กำรเกษตรของได้รับควำมเสียหำยประมำณ 6,560,541 ไร่
มูลค่ำควำมเสียหำย 9,627 ล้ำนบำท
- ปี 2550 อุทกภัยเริ่มมำตั งแต่เดือนกันยำยน 2550 ซึ่งมีพื นที่ประสบอุทกภัยทั งทำงภำคเหนือ
ภำคตะวันออกเฉียงเหนือภำคตะวันออกและภำคกลำง โดยส่งผลให้เกิดภำวะน ้ำล้นชำยฝั่งของแม่น ้ำสำยหลัก
เช่น แม่น ้ำปิง วัง ยม น่ำน ป่ำสัก และเจ้ำพระยำ เป็นต้นท้ำให้หลำยพื นที่มีสภำพน ้ำท่วมขังประกอบกับ
มีกำรผันน ้ำเข้ำเก็บกักเอำไว้ในพื นที่ว่ำงเพื่อบรรเทำปัญหำน ้ำท่วมโดยเฉพำะพื นที่กำรเกษตรใน
จังหวัดชัยนำทสิงห์บุรี อ่ำงทอง พระนครศรีอยุธยำ สุพรรณบุรี และปทุมธำนีและอิทธิพลของพำยุไต้ฝุ่น
"เลกีมำ" ที่พัดผ่ำนประเทศไทย ท้ำให้เกิดฝนตกหนักติดต่อกันในบริเวณภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน