Page 14 - แนวทางการประเมินกำลังผลิตของดินสำหรับปลูกมันสำปะหลังจังหวัดนครราชสีมา
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
5
ตารางที่ 1 ระดับความต้องการปัจจัยต่อการเจริญเติบโตของมันสําปะหลัง
ปัจจัยต่อการเจริญ ปัจจัยความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต*
เติบโตของพืช ปัจจัยชี้บ่ง หน่วย
คุณภาพที่ดิน S1 S2 S3 N
ระบอบอุณหภูมิ (t) อุณหภูมิเฉลี่ย °C 25-29 30-32 33-35 >35
ในฤดูปลูก 24-14 13-10 <10
ความชุ่มชื้นที่เป็น ปริมาณน้ําฝน mm 1,200-1,500 1,500-2,500 2,500-4,000 >4,000
ประโยชน์ต่อพืช (m) เฉลี่ยในรอบปี 900-1,200 500-900 <500
ความเป็นประโยชน์ การระบายน้ํา class ดีมาก-ดี ดีปานกลาง - ค่อนข้างเลว-
ของออกซิเจนต่อรากพืช (o) เลวมาก
ความเป็นประโยชน์ ปริมาณ สูงมาก- ต่ํา - -
ของธาตุอาหาร (s) อินทรียวัตถุ class ปานกลาง
ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) CEC ดินบน cmol kg -1 >10 <10 - -
BS ดินล่าง % >35 <35 - -
สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ความลึกของดิน cm >100 50-100 25-50 <25
ความเสียหายจากน้ําท่วม (f) ความถี่ ปีต่อครั้ง 10 ปี/1 6-9 ปี/1 3-5 ปี/1 1-2 ปี/1
การมีเกลือมากเกินไป (x) EC of saturation dS m -1 <2 2-4 4-8 >8
สารพิษ (z) ความลึกที่พบ
ชั้นจาโรไซต์ cm >150 100-150 50-100 <50
7.4-7.8 7.9-8.4 >8.4
ปฏิกิริยาดิน pH 6.1-7.3
5.1-6.0 4.0-5.0 <4.0
ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (w) ความลาดชัน* class ABC D E >E
ปริมาณหินโผล่ % สูงสุด 1 4 10 25
ปริมาณก้อนหิน % สูงสุด 1 5 15 40
ความเสียหายจากการกร่อนดิน (e) ความลาดชัน* class AB C D >D
ปริมาณดินที่สูญเสีย ตันต่อไร่ต่อปี <2 2-4 4-12 >12
ที่มา : ดัดแปลงจากบัณฑิตและคํารณ (2542)
หมายเหตุ : ความลาดชัน*
A = ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ (0-2%)
B = ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย (2-5%)
C = ลูกคลื่นลอนลาด (5-12%)
D = ลูกคลื่นลอนชัน (12-20%)
E = เนินเขา (20-35%)
ปัจจัยเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต*
S1 = ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง
S2 = ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง
S3 = ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย
N = ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม