Page 17 - ผลการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ของกุยช่าย ในพื้นที่จังหวัดลำปาง
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            7




                           3.1 การแยกเชื้อราสาเหตุโรคโคนเน่า โดยน าชิ้นส่วนของพืชที่เป็นโรคมาฆ่าเชื้อใน 2% โซเดียม
                  ไฮเปอร์คลอไรท์ เป็นเวลา 5 นาที ล้างด้วยน้ ากลั่นปลอดเชื้อ 2 ครั้ง น าชิ้นส่วนที่ได้ไปซับในกระดาษทิชชูปลอด
                  เชื้อ แล้วน าไปวางบนอาหารเลี้ยงเชื้อ Potato Dextrose Agar (PDA) + 0.5% สเตรปโตมัยซีน บ่มที่อุณหภูมิ

                  28 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 7 วัน คัดแยกโคโลนีที่เจริญบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA มาท าให้เป็นเชื้อบริสุทธิ์
                           3.2 การเตรียมเชื้อสาเหตุโรค S. rolfsii น าเชื้อราเลี้ยงบนอาหาร PDA แล้วน าไปเพิ่มปริมาณ โดยน า
                  เชื้อไปเลี้ยงในร าข้าว
                        4. การเตรียมต้นกล้าและปลูกกุยช่าย โดยการแยกกอ ลงปลูกในระยะ 30x30 เซนติเมตร กอละ 3 ต้น
                  ต่อหลุมแล้วรดน้ าให้ชุ่ม

                        5.  ท าการปลูกเชื้อ Sclerotium  rolfsii  สาเหตุโรคโคนเน่าในดินต ารับการทดลองที่ 2-6 หลังปลูก
                  10 วัน โดยท าการน าเชื้อ Sclerotium rolfsii ที่เตรียมไว้ ปริมาณเท่าเมล็ดถั่วใส่ลงไปในดิน ห่างบริเวณโคนต้น
                  กุยช่ายประมาณ 2 นิ้ว จ านวน 4 จุด

                        6. ให้น้ าอย่างสม่ าเสมอ โดยพิจารณาการให้ตามความเหมาะสมกับความต้องการของพืช
                        7. การเก็บข้อมูล
                           7.1 ท าการประเมินระดับความรุนแรงของการเกิดโรคจากการนับจ านวนต้นที่แสดงอาการของโรคแต่
                  ละระดับ เปอร์เซ็นต์การเข้าท าลายและการยับยั้งของโรคโคนและล าต้นเน่า บันทึกผลจากการสังเกตอาการของ

                  โรคและประเมินระดับความรุนแรงของโรคโคนเน่าในต้นกุยช่ายแต่ละต้น โดยใช้เกณฑ์การประเมินระดับความ
                  รุนแรงของโรคดัดแปลงจากวิธีการ Martínez et al., (2010) ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ

                                ระดับ 0 = ไม่แสดงอาการของโรค

                                ระดับ 1 = แสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบ 1-2 ใบ
                                ระดับ 2 = แสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบ 3-5 ใบ
                                ระดับ 3 = แสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบทุกใบ ยกเว้นส่วนยอด
                                ระดับ 4 = แสดงอาการเน่าเป็นสีน้ าตาลทั้งต้น

                         เมื่อท าการประเมินระดับความรุนแรงของโรคโคนเน่าในต้นกุยช่ายแต่ละต้นในระดับต่างๆ แล้วน าผล
                  ประเมินที่ได้มาค านวณหาเปอร์เซ็นต์การถูกท าลายหรือดัชนีการท าลายดังนี้
                         % ดัชนีการท าลาย =    ผลรวมของการเป็นโรคแต่ละระดับ  x  100

                                                       จ านวนต้นพืชที่สุ่ม     ระดับสูงสุด
                           7.2 เก็บข้อมูลด้านการเจริญเติบโต ประกอบด้วย จ านวนต้นต่อกอ และความสูงของต้น จ านวน 20
                  ต้นต่อแปลง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22