Page 20 - ผลการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ของกุยช่าย ในพื้นที่จังหวัดลำปาง
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          10




                  แย่งอาหารเพื่อการด ารงชีพก่อนที่เชื้อโรคพืชจะเจริญ รวมไปถึงกลไกการเป็นปรสิต (parasite) Trichoderma
                  มีคุณสมบัติเป็น mycoparasite โดยเชื้อดังกล่าวจะต้องสร้างเอนไซม์ที่ย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อสาเหตุโรค
                  พืช เอนไซม์จะถูกผลิตขึ้นภายในเซลล์และขับออกมาภายนอกเพื่อกระบวนการย่อยสลาย เอนไซม์ย่อยสลาย

                  (Extracellular degrading enzymes) เอนไซม์เหล่านี้มีบทบาทในการย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อราสาเหตุ
                  โรคพืช เช่น S. rolfsii, Rhizoctonia solani และ Fusarium oxysporum f. sp. lycopersici ความสามารถใน
                  การผลิตเอนไซม์เหล่านี้ของเชื้อรา Trichoderma spp. มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการเข้าท าลายเชื้อ
                  ราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด (Lorito  et.  al.,  1993)  ดังนั้นเชื้อราปฏิปักษ์ที่สามารถผลิตเอนไซม์ ไคติเนส
                  หรือเบตา-1,3-กลูคาเนส สามารถย่อยสลายเส้นใย S.  rolfsii  ได้ ซึ่งเห็นได้ว่าเอนไซม์เหล่านี้เป็นกลไกหนึ่งซึ่ง

                  เชื้อราปฏิปักษ์ใช้ในการเข้าท าลายเชื้อสาเหตุโรคพืช


                                    จ านวนต้นที่แสดงอาการของโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา
                                                   Sclerotium rolfsii
                  จ านวนต้น

                      60   56
                      50
                                         40         42                                 39
                      40                                        37         37
                                       28
                      30     23                                  23          25          25
                                                      18
                      20
                                          11      11    9     11    9    10                9
                      10                                                       8     7
                               1  0  0       1  0         0          0           0           0
                       0
                              T1          T2         T3          T4         T5          T6 ต ารับการทดลอง

                                      ระดับ 0   ระดับ 1   ระดับ 2   ระดับ 3    ระดับ 4

                             ระดับ 0 = ไม่แสดงอาการของโรค

                             ระดับ 1 = เป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบ 1-2 ใบ
                             ระดับ 2 = เป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบ 3-5 ใบ
                             ระดับ 3 = เป็นสีน้ าตาลและลามไปสู่ก้านใบทุกใบ ยกเว้นส่วนยอด
                             ระดับ 4 = เป็นสีน้ าตาลทั้งต้น


                  ภาพที่ 2 จ านวนต้นที่แสดงอาการของโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii

                         เมื่อน าข้อมูลจากตารางภาคผนวกที่ 1  และ 2  มาประเมินระดับความรุนแรงของโรคโคนเน่าในต้น

                  กุยช่ายในระดับต่างๆ (ตารางที่ 2 และภาพที่ 3) พบว่า การศึกษาจ านวนต้นกุยช่ายที่แสดงอาการของโรคโคน
                  เน่าในแต่ละระดับ และการประเมินความรุนแรงของโรคโคนเน่าของกุยช่าย จะเห็นได้ว่าต ารับการทดลองที่ 2
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25