Page 19 - ผลการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ของกุยช่าย ในพื้นที่จังหวัดลำปาง
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            9




                  ตารางที่ 1 จ านวนต้นที่แสดงอาการของโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii

                                                     จ านวนต้นที่แสดงอาการของโรคโคนเน่าในระดับต่าง ๆ
                           ต ารับการทดลอง
                                                     ระดับ 0  ระดับ 1  ระดับ 2  ระดับ 3  ระดับ 4
                  T1: แปลงควบคุม                       56        23        1         0         0

                  T2: ใช้ปุ๋ยและสารเคมีตามวิธีการของ   28        40        11        1         0
                     เกษตรกร
                  T3: ใช้ปุ๋ยหมักที่ขยายเชื้อสารเร่ง   11        42        18        9         0
                     ซุปเปอร์ พด.3 อัตรา 6.25 กรัมต่อ

                     ตารางเมตร
                  T4: ใช้เชื้อสด Trichoderma อัตรา     11        37        23        9         0
                     50 กรัมต่อตารางเมตร
                  T5: ใช้ชีวภัณฑ์เชื้อรา Trichoderma   10        37        25        8         0

                     อัตรา 50 กรัมต่อตารางเมตร
                  T6: ใช้ชีวภัณฑ์แบคทีเรีย Bacillus    7         39        25        9         0
                     subtilis อัตรา 0.67 กรัมต่อตาราง

                     เมตร

                  หมายเหตุ :  นับต้นกุยช่ายจ านวน 80 ต้นในแต่ละต ารับการทดลองที่แสดงอาการของโรคโคนเน่าในแต่ละ
                             ระดับ (ระดับ 0-4)

                         2. การประเมินความรุนแรงของโรคโคนเน่าของกุยช่าย
                            จากการเปรียบเทียบการเข้าท าลายและการยับยั้งการเข้าท าลายของเชื้อรา Sclerotium  rolfsii
                  พบว่า ต ารับการทดลองที่ 2 การใช้สารเคมีก าจัดโรคพืช มีแนวโน้มท าให้การเข้าท าลายของเชื้อราน้อยที่สุด

                  เท่ากับ 36.88 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือ ต ารับการทดลองที่ 3,  4 และ 5 ซึ่งมีการเข้าท าลายเท่ากับ 43.74,
                  45.82 และ 46.24 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติกับต ารับการทดลองที่ 6 การใช้ชีวภัณฑ์
                  แบคทีเรีย Bacillus  subtilis  ซึ่งมีค่าเท่ากับ 48.32 เปอร์เซ็นต์ มีผลท าให้การยับยั้งการเข้าท าลายของเชื้อรา
                  น้อยที่สุดด้วย เท่ากับ 51.68 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับต ารับการทดลองที่ 3 การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3

                  พบว่า ต ารับการทดลองที่ 3 สามารถยับยั้งการเข้าท าลายของเชื้อราได้ถึง 56.26 เปอร์เซ็นต์ ดังแสดงในตาราง
                  ที่ 2 ซึ่งต ารับการทดลองดังกล่าวประกอบด้วยเชื้อรา Trichoderma  และแบคทีเรีย Bacillus  subtilis
                  สอดคล้องกับรายงานของ El-Katatny et. al. (2001) ที่มีการใช้เชื้อจุลินทรีย์ยับยั้งการสร้าง sclerotia และ
                  การเจริญของเส้นใยเชื้อรา S. rolfsii ได้แก่ แบคทีเรีย แอคติโนมัยสิท เชื้อรามัยคอร์ไรซา และเชื้อราปฏิปักษ์ที่

                  มีการศึกษากันมากเพื่อใช้ในการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี ได้แก่ เชื้อราในกลุ่ม Trichoderma spp. โดยเชื้อรา
                  ปฏิปักษ์จะมีกลไกในการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชได้หลายกลไก เช่น การแก่งแย่งแข่งขันและครอบครองพื้นที่
                  (competition) เชื้อรา Trichoderma spp. มีคุณสมบัติเจริญได้อย่างรวดเร็วสามารถเข้าครอบครองพื้นที่และ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24