Page 22 - ผลการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 ควบคุมโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ของกุยช่าย ในพื้นที่จังหวัดลำปาง
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          12




                               เปอร์เซ็นต์การเข้าท าลายและยับยั้งโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา

                                                 Sclerotium rolfsii
                     เปอร์เซ็นต์
                      80
                                          63.12
                                                     56.26
                                                               54.18
                                                                         53.76
                                                                                    51.68
                      60                          43.74     45.82     46.24      48.32
                                       36.88
                      40     27.50
                      20
                                  0
                       0
                               T1         T2        T3        T4        T5         T6 ต ารับการทดลอง

                                    การเข้าท าลายของโรค (%)     การยับยั้งของโรค (%)


                  ภาพที่ 3 เปอร์เซ็นต์การเข้าท าลายและยับยั้งโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii


                      3. การเจริญเติบโตของกุยช่าย
                            3.1 จ านวนต้นต่อกอ
                                จากการศึกษาการเจริญเติบโตของกุยช่ายโดยการนับจ านวนต้นต่อกอในช่วงก่อนเก็บเกี่ยว

                  ผลผลิต จ านวน 20  กอต่อต ารับการทดลอง พบว่า ทุกต ารับการทดลองมีจ านวนต้นต่อกอไม่แตกต่างกันทาง
                  สถิติ อยู่ในช่วง 4.51-4.59 ต้นต่อกอ ดังแสดงในตารางที่ 3 และภาพที่ 4
                            3.2 ความสูงของต้น

                                จากการศึกษาการเจริญเติบโตของกุยช่ายโดยวัดความสูงของต้นในช่วงก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต
                  กุยช่าย จ านวน 20 ต้น พบว่า ทุกต ารับการทดลองมีความสูงไม่แตกต่างกันทางสถิติ อยู่ในช่วง 18.61-18.88.
                  เซนติเมตร (ตารางที่ 3 และภาพที่ 5) แสดงให้เห็นว่าการควบคุมโรคโคนเน่าของกุยช่ายที่เกิดจากเชื้อรา
                  Sclerotium  rofsii  ในแต่ละต ารับการทดลอง โดยการใช้สารเคมีควบคุมโรค การใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.3

                  การใช้ชีวภัณฑ์เชื้อรา Trichodema  และชีวภัณฑ์แบคทีเรีย Bacillus  subtilis  ไม่มีผลต่ออัตราการ
                  เจริญเติบโตของกุยช่าย
                                จากการทดลอง จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของกุยช่ายทั้งทางด้านการแตก
                  กอและความสูงระหว่างต ารับการทดลองที่ 2 การใช้ปุ๋ยและสารเคมีตามวิธีการของเกษตรกร (ปุ๋ยเคมีสูตร 15-

                  15-15 และ 46-0-0 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่) กับต ารับการทดลองอื่นๆ พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
                  ดังนั้นการใส่ปุ๋ยเคมีจึงไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตทางด้านการแตกกอและความสูงของกุยช่าย ซึ่งท าให้ต้นทุนใน
                  การผลิตสูงขึ้นอีกด้วย (ตารางภาคผนวก 3)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27