Page 44 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        33







                                          2.7.3  ปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ (organic  carbon)  โดยวิธี Walkley  and
                       Black tritration (Walkley and Black, 1934; Nelson and Sommers, 1996)  จากนั้นน าไป
                       ค านวณหาปริมาณอินทรียวัตถุของดิน (organic matter) โดยใช้สูตรดังนี้
                                          Organic matter (%) = % Organic carbon × 1.724

                                          2.7.4 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (available  phosphorus)  โดยวิธี
                       Bray II (Bray and Kurzt, 1945) แล้ววัดปริมาณฟอสฟอรัสด้วยเครื่อง Spectrophotometer
                                          2.7.5  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available  potassium)  โดย

                       วิธีการสกัดด้วยสารละลาย 1M  NH OAc  ที่เป็นกลาง (pH  7)  (Pratt,  1965)  แล้ววัดปริมาณ
                                                      4
                       โพแทสเซียมด้วยเครื่อง atomic absorption spectrophotometer
                                    2.8 ข้อมูลการเจริญเติบโตของผักคะน้า โดยสุ่มจากผักคะน้าจ านวน 10 ต้นต่อแปลง
                       ใช้พื้นที่เก็บเกี่ยว 1x1 เมตร ท าการวัดความสูงต้น ความกว้างใบ และชั่งน้ าหนักสดผักคะน้าเหนือดิน
                                    2.9 ข้อมูลผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ บันทึกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ค่าปุ๋ยเคมี ค่า

                       วัตถุดิบท าปุ๋ยอินทรีย์  คุณภาพสูง ค่าเตรียมแปลง เป็นต้น
                                        2.10  การวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ  โดยใช้โปรแกรม  MSTAT  โดย
                       วิเคราะห์ค่าความแตกต่างของต ารับการทดลองโดยใช้ DMRT

                                          2.11 การจัดท ารายงานผลงานวิชาการ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49