Page 36 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 36
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ตารางที่ 9 ปริมาณโพแทสเซียมของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลา 30 และ 60 วัน (เปอร์เซ็นต์)
ต ารับการทดลอง 30 วัน 60 วัน
หลังหมัก หลังหมัก
1. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน 2.56 3.81
2. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา 3.07 3.09
3. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ 2.60 3.24
4. 4. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ 2.52 4.06
+เชื้อราไตรโคเดอร์มา
F-test ns ns
C.V. (%) 12.76 26.15
หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
3.7 ปริมาณแคลเซียม (Ca) ของปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลา 30 วัน พบว่า ปริมาณแคลเซียมไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
มีค่าอยู่ในระหว่าง 0.49–0.62 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนเมื่อสิ้นสุดที่ระยะเวลา 60 วัน
มีปริมาณแคลเซียมไม่แตกต่างกันทางสถิติ มีค่าอยู่ในระหว่าง 13.89-17.70 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 10) และ
พบว่าที่ระยะเวลาหมักปุ๋ย 60 วัน มีปริมาณแคลเซียมเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบที่ระยะเวลาหมัก 30 วัน
ตารางที่ 10 ปริมาณแคลเซียมของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่ระยะเวลา 30 และ 60 วัน (เปอร์เซ็นต์)
30 วัน 60 วัน
ต ารับการทดลอง
หลังหมัก หลังหมัก
1. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน 0.62 13.89
2. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา 0.54 14.14
3. ปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ 0.49 17.70
4. หมักเปลือกทุเรียน+เชื้อราไฟทอฟธอรา+ปูนโดโลไมท์ 2 เปอร์เซ็นต์ 0.55 15.40
+เชื้อราไตรโคเดอร์มา
F-test ns ns
C.V. (%) 20.42 11.70
หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ