Page 39 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          28




                                                            ประโยชน์ที่ได้รับ

                         1. เป็นแนวทางการผลิตปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนที่มีคุณภาพทั้งทางชีวภาพและเคมีโดยการผสม

                  ปูนโดโลไมท์ร่วมกับใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา (Trichoderma  viride) จะช่วยควบคุมและยับยั้งการเกิดโรคพืช
                  จากเชื้อราไฟทอฟธอรา
                         2. ได้วิธีการก าจัดเปลือกทุเรียนโดยน าเปลือกทุเรียนมาท าปุ๋ยหมัก ซึ่งจะสามารถช่วยลดปริมาณวัสดุ
                  เหลือใช้ทางการเกษตรและได้ท าปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพต่อการปรับปรุงบ ารุงดิน และยังเป็นทางเลือกให้แก่
                  เกษตรกรน าเศษวัสดุเปลือกทุเรียนมาผลิตปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพ น าไปใช้เพื่อควบคุมการเกิดโรครากเน่าโคนเน่า

                  ของทุเรียน ช่วยลดการใช้สารเคมีปูองกันโรคพืช สามารถลดต้นทุนการผลิตได้อีกทางหนึ่ง
                         3. เจ้าหน้าที่ นักวิชาการ นักศึกษา สามารถน าองค์ความรู้ที่ได้รับไปศึกษาวิจัยต่อยอด ศึกษาแนวทาง
                  การใช้ผลตกค้างของเชื้อราไฟทอฟธอราในปุ๋ยหมักต่อการเกิดโรคของทุเรียนในภาคสนาม
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44