Page 36 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       23







                                     ต ารับการทดลองที่ 1-5   วิเคราะห์ดินโดยห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิเคราะห์ดิน
                                                           ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 6
                                     ต ารับการทดลองที่ 6   วิเคราะห์ดินโดยใช้ชุดตรวจดินภาคสนาม
                                                           กรมพัฒนาที่ดิน (LDD soil test kit)


                                     2) ดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                     ด้านดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตผักคะน้า พบว่า ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง  มีค่าเพิ่มขึ้น
                       เมื่อเปรียบเทียบกับดินก่อนการทดลอง โดยในต ารับการทดลองที่ 1-5 อยู่ในช่วง 6.7-7.1 ซึ่งจัดอยู่ใน

                       ระดับเป็นกลาง  ส่วนปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีค่าลดลงจากก่อนการทดลองในต ารับการทดลองที่ 1
                       และ 2  โดยมีค่า 2.4 และ 2.0 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ  อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนในต ารับการทดลอง
                       ที่ 3, 4 และ 5  มีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขี้นมื่อเปรียบเทียบกับดินก่อนปลูก คือ 2.3, 2.2 และ 2.3
                       เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ  ส าหรับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ในดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต

                       เปลี่ยนแปลงลดลงในต ารับการทดลองที่ 1  มีค่า 86  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่ในต ารับการทดลองที่
                       2, 3, 4 และ 5  มีค่าเพิ่มขึ้น โดยมีค่า 103, 126, 106 และ 103 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ และ
                       ปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตมีค่าลดลงในต ารับการทดลอง

                       ที่ 1,  2  และ  3   คือมีค่า 186, 264  และ  254    มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ แต่ในต ารับการ
                       ทดลองที่ 4 และ 5   มีค่าเพิ่มขึ้น คือ 324 และ 296  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ส าหรับต ารับ
                       การทดลองที่ 6 วิเคราะห์ดินด้วยชุดตรวจดินภาพสนาม กรมพัฒนาที่ดิน พบว่า ค่าความเป็นกรดเป็น
                       ด่าง เท่ากับ 7.0 ซึ่งจัดอยู่ เป็นกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เท่ากับ 2.4 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในระดับ
                       ปานกลาง  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช มีมากกว่า 45  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ใน

                       ระดับสูงมาก  และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้  มีมากกว่า 120  มิลลิกรัมต่อ
                       กิโลกรัม อยู่ในระดับสูงมาก ดังตารางที่ 7


                        ตารางที่ 7  ผลวิเคราะห์สมบัติบางประการของดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตแปลงผักคะน้า พ.ศ. 2558


                        ต ารับ   N-P O -K O       pH     Organic Matter  Available P  Exchangeable K
                                     2 5 2
                          ที่     (kg/rai)                     (%)           (mg/kg)         (mg/kg)

                          1       0 - 0 - 0       7.1          2.4              86             186

                          2  12.5 - 3.5 - 3.5     7.0          2.0             103             264
                          3      15 - 5 - 5       6.7          2.3             126             254

                          4     22.9 - 0 - 0      7.0          2.2             106             324

                          5     15.4 - 0 - 0      7.0          2.3             103             296
                          6     15 - 5 - 10       7.0          2.4             >45             >120
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41