Page 38 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       25







                                                   ก่อนปลูก     หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                    2.4 2.4                                                   2.4 2.4
                           2.5                  2.2  2      2.3 2.3     2.2 2.2    2.1  2.3

                        Organic Matter (%)  1.5
                             2




                             1

                           0.5

                                0
                                      1           2          3           4           5          6

                                                             ต ารับการทดลอง



                       ภาพที่ 4  เปรียบเทียบปริมาณอินทรียวัตถุ (Organic Matter) ในดินก่อนปลูกและหลังเก็บเกี่ยว
                                ผลผลิตของแปลงปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558

                              จากการเปรียบเทียบปริมาณอินทรียวัตถุ  ในดินก่อนปลูกและหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของแปลง
                       ปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558 พบว่าในต ารับการทดลองที่ 1, 3, 4 และ 6 ปริมาณอินทรียวัตถุไม่มีการ

                       เปลี่ยนแปลง ส่วนในต ารับการทดลองที่ 2 ในดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต มีปริมาณอินทรียวัตถุลดลงกว่า
                       ดินก่อนปลูก และในต ารับการทดลองที่ 5  ในดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต มีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น
                       เมื่อเปรียบเทียบกับดินก่อนปลูก ถือได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับดินก่อนปลูก

                       และการเปลี่ยนแปลงของอินทรียวัตถุในดินหลังการเก็บเกี่ยว เกิดจากการมีชิ้นส่วนของรากพืชปะปน
                       อยู่  ซึ่งการใส่ปุ๋ยในอัตราที่แตกต่างกันในแต่ละต ารับการทดลองไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
                       อินทรียวัตถุในดิน ดังภาพที่ 4
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43