Page 41 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28







                               1.3 หอมแบ่ง พ.ศ. 2557
                                     1) ดินก่อนการทดลอง
                                     จากการเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกของแปลงหอมแบ่ง วิเคราะห์สมบัติทางเคมีในห้อง
                       ปฏิบัติการ ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น

                       ประโยชน์ได้ และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ พบว่า ในต ารับการทดลองที่ 1-5 ดิน
                       ก่อนปลูกมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง อยู่ในช่วง 6.7-6.9 ซึ่งจัดอยู่ในระดับเป็นกลาง ปริมาณ
                       อินทรียวัตถุในดิน อยู่ในช่วง 1.4-1.5 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในระดับค่อนข้างต่ า-ปานกลาง ปริมาณ
                       ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช อยู่ในช่วง 625-755 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูงมาก และ

                       ปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ อยู่ในช่วง 263-299 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูง
                       มาก ส าหรับต ารับการทดลองที่ 6 ซึ่งวิเคราะห์ดินด้วยชุดตรวจดินภาพสนาม กรมพัฒนาที่ดิน พบว่า
                       ความเป็นกรดเป็นด่าง มีค่า 6.5 ซึ่งจัดอยู่ในระดับเป็นกรดเล็กน้อย ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เท่ากับ
                       1.5 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในระดับปานกลาง  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช มีมากกว่า 45

                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูงมาก  และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้  มีค่า
                       มากกว่า 120  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูงมาก ดังตารางที่ 9


                        ตารางที่ 9  ผลวิเคราะห์สมบัติบางประการของดินก่อนปลูก แปลงหอมแบ่ง พ.ศ. 2557

                        ต ารับ  N-P O - K O      pH  Organic Matter  Available P  Exchangeable K
                                   2 5
                                          2
                         ที่       (kg/rai)                  (%)           (mg/kg)          (mg/kg)
                        1       0 - 0 - 0        6.7         1.4             625              271

                        2     20 - 11 - 11       6.9         1.5             755              288
                        3       15 - 5 - 5       6.8         1.5             690              263

                        4      3.9 - 0 - 0       6.7         1.4             711              299
                        5      7.2 - 0 - 0       6.9         1.5             716              280

                        6       20 - 5 - 5       6.5         1.5             > 45            > 120

                       หมายเหตุ :    ต ารับการทดลองที่ 2   ใส่ปุ๋ย   25-7-7     =   50    กิโลกรัมต่อไร่

                                                                  15-15-15  =   50     กิโลกรัมต่อไร่
                                     ต ารับการทดลองที่ 3   ใส่ปุ๋ย   46-0-0     =    32.61   กิโลกรัมต่อไร่
                                                                  0-46-0     =   10.87.  กิโลกรัมต่อไร่
                                                                  0-0-60     =    8.33   กิโลกรัมต่อไร่

                                     ต ารับการทดลองที่ 4   ใส่ปุ๋ย   46-0-0     =    8.48   กิโลกรัมต่อไร่
                                     ต ารับการทดลองที่ 5   ใส่ปุ๋ย   46-0-0     =   15.65   กิโลกรัมต่อไร่
                                     ต ารับการทดลองที่ 6   ใส่ปุ๋ย   46-0-0     =    43.48   กิโลกรัมต่อไร่

                                                                  0-46-0     =   10.87   กิโลกรัมต่อไร่
                                                                  0-0-60     =    8.33   กิโลกรัมต่อไร่
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46