Page 40 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       27







                              ในการก าหนดอัตราปุ๋ยส าหรับผักคะน้า พ.ศ. 2558 พบว่า ในต ารับการทดลองที่ 3 อัตรา
                       ตามค่าวิเคราะห์ดินของห้องปฏิบัติการ และการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่
                       เป็นประโยชน์ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ประเมินอัตราปุ๋ยจากค่าวิเคราะห์ดินโดย
                       ใช้เกณฑ์ของกรมวิชาการเกษตร สามารถแปลผลได้ คือ N-P O -K O เท่ากับ 15-5-5 กิโลกรัมต่อไร่
                                                                        2 5  2
                       และก าหนดอัตราการใส่ N, P และ K โดยมีอัตราการใส่ปุ๋ย ดังนี้ ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา 32.61 กิโลกรัมต่อ
                       ไร่ ปุ๋ย 0-46-0  อัตรา 10.87  กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ย 0-0-60  อัตรา 8.33  กิโลกรัมต่อไร่  ตามล าดับ
                       ส าหรับต ารับการทดลองที่ 6 ที่วิเคราะห์ดินโดยชุดตรวจดินภาคสนาม เกษตร สามารถแปลผลได้ คือ
                       N-P O -K O เท่ากับ 15-5-10 กิโลกรัมต่อไร่ และก าหนดอัตราการใส่ N, P และ K โดยมีอัตราการ
                          2 5  2
                       ใส่ปุ๋ย ดังนี้ ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา 32.61 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ย 0-46-0 อัตรา 10.87 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ย
                       0-0-60 อัตรา 16.67 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ดังตารางที่ 8
                              เมื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ดินก่อนปลูกจากแปลงทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558  ที่

                       ได้จากห้องปฏิบัติการ ของกลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กับผลการวิเคราะห์ดินด้วย
                       ชุดตรวจดินภาคสนาม กรมพัฒนาที่ดิน โดยพิจารณาจากระดับของความเป็นกรดเป็นด่าง

                       อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ พบว่า ความเป็น
                       กรดเป็นด่าง อินทรียวัตถุ และฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ ที่วิเคราะห์ดินด้วยชุดตรวจดินภาคสนาม

                       กรมพัฒนาที่ดิน มีความสอดคล้องกับค่าวิเคราะห์ดินจากห้องปฏิบัติการ  ส าหรับค่าวิเคราะห์

                       โพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้นั้น พบว่า การตรวจวัดโดยชุดตรวจดินภาคสนาม มีความคลาด
                       เคลื่อนจากค่าวิเคราะห์ดินจากห้องปฏิบัติการเพียง 1  ระดับ คือ ตรวจวัดได้ต่ ากว่า โดยมีปริมาณ

                       โพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนแลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งความคลาดเคลื่อนดังกล่าว

                       ถือได้ว่าเป็นความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ เพราะการตรวจสอบปริมาณของโพแทสเซียมที่สามารถ
                       แลกเปลี่ยได้ในดินของชุดตรวจดินภาคสนาม อาศัยปฏิกิริยาการตกตะกอนของโพแทสเซียมอิออนใน

                       สารละลายที่ได้จากการสกัดดิน และการตรวจสอบปริมาณตะกอนที่เพิ่มขึ้น ใช้การสังเกตความชัดเจน
                       ของแถบสีด าบนกระดาษที่วางทาบหลังหลอดแก้วที่ใช้ทดสอบด้วยสายตาของผู้วิเคราะห์ ซึ่งความ

                       แม่นย าในการตรวจวัดขึ้นอยู่กับสายตา และความช านาญในการใช้อุปกรณ์ในการตรวจสอบ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45