Page 37 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       24







                                                   ก่อนปลูก     หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต


                            8          7.1         7.0         6.7     6.9 7.0         7.0        7.0

                            7      6.5         6.5         6.4                     6.5         6.5
                            6
                            5
                        pH  4

                            3
                            2
                            1

                            0

                                     1           2           3           4           5          6
                                                            ต ารับการทดลอง



                       ภาพที่ 3  เปรียบเทียบค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) ของดินก่อนปลูกและหลังเก็บเกี่ยว
                                ผลผลิตของแปลงปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558

                              จากการเปรียบเทียบค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ก่อนปลูกและหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของ

                       แปลงปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558 พบว่าในดินก่อนปลูกของทุกต ารับการทดลองมีค่าความเป็นกรดเป็น
                       ด่างของดินน้อยกว่าดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต อาจเนื่องมาจากก่อนปลูกพืชอยู่ในช่วงฤดูฝนมีฝนตกชุก
                               +
                                                                     2+
                       ท าให้มี H  มากขึ้น นอกจากนี้ยังอาจเกิดการชะล้าง Ca   ท าให้ดินเป็นกรดมากขึ้น และในน้ าฝนก็
                       เป็นกรดเล็กน้อย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2533) แต่ส าหรับการปลูกผักคะน้า 1 รอบ (crop) ท าให้ pH ของ
                       ดินเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยคือ 0.1-0.5 pH unit ถือว่าไม่ได้เป็นผลจากอัตราการใส่ปุ๋ยที่ต่างกันในแต่ละ
                       ต ารับการทดลอง ดังภาพที่ 3
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42