Page 24 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       11







                       วิธีการด าเนินการวิจัย
                              ท าการทดลองเป็นเวลา 2  ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2557  สิ้นสุด พ.ศ. 2558  ใช้แผนการทดลอง
                       แบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อค (Randomized Complete Block Design ; RCBD) จ านวน 6 ต ารับการ
                       ทดลอง มี 4 ซ้ า  ซึ่งเป็นการใส่ปุ๋ยเคมี 6 อัตราดังนี้

                              ต ารับการทดลองที่ 1   ต ารับควบคุม (control) ไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมี
                              ต ารับการทดลองที่ 2   อัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ
                              ต ารับการทดลองที่ 3   อัตราตามค่าวิเคราะห์ดินของห้องปฏิบัติการและค าแนะน าของ
                                                   กรมวิชาการเกษตร

                              ต ารับการทดลองที่ 4   อัตราตามความต้องการไนโตรเจนของพืช โดยถือว่าพืชดูดใช้
                                                   ไนโตรเจนจากปุ๋ยได้ 50 เปอร์เซ็นต์ และพิจารณาอัตราการใส่จาก
                                                   ค่าวิกฤตฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม
                              ต ารับการทดลองที่ 5   อัตราที่ประเมินจากปริมาณธาตุอาหารหลักที่สะสมในพืช โดย

                                                   ชดเชยปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสีย 30 เปอร์เซ็นต์
                              ต ารับการทดลองที่ 6   อัตราตามค่าวิเคราะห์ดินโดยชุดตรวจดินภาคสนาม


                              พืชผักที่ใช้ปลูกในแปลงทดลอง ได้แก่ ผักคะน้าและหอมแบ่ง โดยแต่ละต ารับการทดลองมี
                       รายละเอียดดังนี้
                              ต ารับการทดลองที่ 1   แปลงควบคุม (control) ซึ่งไม่ใส่ปุ๋ยเคมีทุกชนิด
                              ต ารับการทดลองที่ 2   ใส่ปุ๋ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ดังนี้
                       การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2557      ใส่ปุ๋ย 25-7-7     อัตรา  50    กิโลกรัมต่อไร่

                       การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558      ใส่ปุ๋ย 25-7-7     อัตรา  50    กิโลกรัมต่อไร่
                       การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2557       ใส่ปุ๋ย 25-7-7     อัตรา  50    กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 15-15-15    อัตรา  50    กิโลกรัมต่อไร่

                       การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2558       ใส่ปุ๋ย 25-7-7     อัตรา  50    กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 15-15-15    อัตรา  50    กิโลกรัมต่อไร่
                              ต ารับการทดลองที่ 3   อัตราตามค่าวิเคราะห์ดินของห้องปฏิบัติการ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่า
                       วิเคราะห์อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้

                       ประเมินอัตราปุ๋ยจากค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้เกณฑ์ของกรมวิชาการเกษตร ในการก าหนดอัตราการใส่
                       N, P และ K โดยมีอัตราการใส่ปุ๋ย ดังนี้
                       การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2557      ใส่ปุ๋ย 46-0-0     อัตรา  32.61   กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 0-46-0     อัตรา  10.87   กิโลกรัมต่อไร่

                                                           ใส่ปุ๋ย 0-0-60     อัตรา   8.33   กิโลกรัมต่อไร่
                       การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558      ใส่ปุ๋ย 46-0-0     อัตรา  32.61   กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 0-46-0     อัตรา  10.87   กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 0-0-60     อัตรา   8.33   กิโลกรัมต่อไร่
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29