Page 25 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12







                       การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2557       ใส่ปุ๋ย 46-0-0     อัตรา  32.61   กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 0-46-0     อัตรา 10.87    กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 0-0-60     อัตรา  8.33    กิโลกรัมต่อไร่
                       การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2558       ใส่ปุ๋ย 46-0-0     อัตรา  32.61   กิโลกรัมต่อไร่

                                                           ใส่ปุ๋ย 0-46-0     อัตรา 10.87    กิโลกรัมต่อไร่
                                                           ใส่ปุ๋ย 0-0-60     อัตรา  8.33    กิโลกรัมต่อไร่

                              ต ารับที่การทดลอง 4 การใส่ปุ๋ยเคมีโดยอัตราการใส่ N พิจารณาจากค่าวิเคราะห์อินทรียวัตถุ
                       ในดินก่อนปลูก การปลดปล่อยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุ (indigenous N supply, INS) ปริมาณ N

                       ที่สะสมในต้นพืชเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวัง และถือว่าพืชมีประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจน
                       จากปุ๋ยที่ใส่ลงในดิน 50 % ส าหรับการใส่ปุ๋ย P  และ K  พิจารณาจากค่าวิเคราะห์ฟอสฟอรัสที่เป็น
                       ประโยชน์ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดินก่อนปลูก และใส่ปุ๋ย P  และ K  เมื่อค่า
                       วิเคราะห์ดินดังกล่าวต่ ากว่าค่าวิกฤต (10 มก.P/กก.,  100 มก K/กก.) โดยใส่ในปริมาณที่ท าให้

                       ฟอสฟอรัส ที่เป็นประโยชน์ได้และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดินเท่ากับค่าวิกฤต
                       รายละเอียดดังนี้
                              การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2557 จะได้ N-P O -K O = 10.1-0-0  ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา
                                                                     2 5 2
                       21.96 กิโลกรัมต่อไร่

                              การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2558 จะได้ N-P O -K O = 22.9-0-0  ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา
                                                                      2 5 2
                       49.78  กิโลกรัมต่อไร่
                              การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2557 จะได้ N-P O -K O = 3.9-0-0  ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา
                                                                      2 5 2
                       8.48  กิโลกรัมต่อไร่

                              การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2558 จะได้ N-P O -K O = 14.2-0-0  ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา
                                                                      2 5 2
                       30.87  กิโลกรัมต่อไร่


                              ต ารับการทดลองที่ 5 การใส่ N, P และ K โดยพิจารณาจากปริมาณ N, P และ K ที่สะสมใน
                       พืชเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวัง ถือว่าดินมีการสูญเสียธาตุ N, P และ K 30 % ของปริมาณ N, P
                       และ K  ที่อยู่ในพืช ซึ่งต้องใส่ปุ๋ย P  และ K  นอกจากจะพิจารณาจาก P  และ K  ที่พืชดูดใช้และการ
                       สูญเสีย P และ K จากการชะล้างของดินแล้ว ยังพิจารณาจากค่าวิเคราะห์ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
                       ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดินก่อนปลูก หากค่าวิเคราะห์ดินดังกล่าวสูงกว่า

                       ปริมาณ P และ K ที่พืชดูดรวมกับที่ต้องการใส่ชดเชย จะไม่ใส่ปุ๋ย P และ K แต่ถ้าค่าวิเคราะห์ดังกล่าว
                       ต่ ากว่าปริมาณการดูดใช้ P และ K ของพืชรวมกับปริมาณ P และ K ที่ใส่ชดเชยการสูญเสีย P และ K
                       ไปกับการชะล้างของดิน จึงใส่ปุ๋ย P และ K เพิ่มเติมในปริมาณที่เพียงพอแก่ความต้องการ รวมกับที่

                       ชดเชยการสูญเสียไปจากการชะล้างโดยดิน มีอัตราการใส่ปุ๋ย ดังนี้
                              การทดลองปลูกผักคะน้า พ.ศ. 2557 จะได้ N-P O -K O = 13.2-0-0 ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา
                                                                      2 5 2
                       28.70 กิโลกรัมต่อไร่
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30