Page 27 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                                                                  น้ ายาสกัด NH OAc ปริมาณ K = >120 mg/kg
                                                                              4
                              จากผลการวิเคราะห์สามารถแปลผลคือ   N-P O -K O =  20-5-5 โดยใส่ปุ๋ยดังนี้
                                                                     2 5 2
                                                                  ใส่ปุ๋ย 46-0-0     อัตรา  43.48   กิโลกรัมต่อไร่
                                                                  ใส่ปุ๋ย 0-46-0     อัตรา  10.87   กิโลกรัมต่อไร่

                                                                  ใส่ปุ๋ย 0-0-60     อัตรา  8.33    กิโลกรัมต่อไร่

                              การทดลองปลูกหอมแบ่ง พ.ศ. 2558       ไนโตรเจน    =   ระดับปานกลาง
                                                                  % N = 0.10-0.14 , % OM = 2.00-2.99

                                                                  ฟอสฟอรัส    =  ระดับสูงมาก
                                                                  น้ ายาสกัด Bray II ปริมาณ P = >45 mg/kg
                                                                  โพแทสเซียม  =  ระดับสูงมาก
                                                                  น้ ายาสกัด NH OAc ปริมาณ K = >120 mg/kg
                                                                              4
                              จากผลการวิเคราะห์สามารถแปลผลคือ   N-P O -K O =  15-5-5 โดยใส่ปุ๋ยดังนี้
                                                                     2 5 2
                                                                  ใส่ปุ๋ย 46-0-0     อัตรา  32.61   กิโลกรัมต่อไร่
                                                                  ใส่ปุ๋ย 0-46-0     อัตรา  10.87   กิโลกรัมต่อไร่

                                                                  ใส่ปุ๋ย 0-0-60     อัตรา  8.33    กิโลกรัมต่อไร่

                              ส าหรับพื้นที่แปลงทดลอง ผักคะน้าด าเนินการ ณ แปลงนายเอนก โพธิพฤกษ์ ส่วนหอมแบ่ง
                       ด าเนินการแปลงนางเหรียญ ไหแก้ว ซึ่งมีสมบัติของดินก่อนปลูกดังนี้
                              1. นายเอนก  โพธิพฤกษ์    ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินอยู่ในช่วง 5.7-6.4  ปริมาณ

                       อินทรียวัตถุ อยู่ในช่วง 2.1-2.3 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช อยู่ในช่วง 66-83
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้อยู่ในช่วง 163-229 มิลลิกรัม
                       ต่อกิโลกรัม

                              2.  นางเหรียญ  ไหแก้ว  ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินอยู่ในช่วง 6.6-6.9,  ปริมาณ
                       อินทรียวัตถุอยู่ในช่วง 1.4-1.5 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช อยู่ในช่วง 625-
                       755 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้อยู่ในช่วง 263-299
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

                              การดูแล ใช้วิธีการให้น้ า และการป้องกันก าจัดศัตรูพืชตามวิธีการของเกษตรกร ในการใส่ปุ๋ย
                       N  ใช้วิธีการแบ่งใส่ครั้งละ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยใส่ครั้งแรกในช่วง 7-10 วันหลังปลูก และครั้งที่ 2
                       ในช่วง 20-25 วันหลังปลูก ส าหรับต ารับการทดลองที่มีการใส่ปุ๋ย P  และ K  จะใส่ครั้งเดียวจนหมด
                       พร้อมกับการใส่ปุ๋ย N  ครั้งแรก แปลงทดลองแต่ละต ารับการทดลองมีขนาดกว้าง 2.5 เมตร ยาว 5

                       เมตร  เก็บเกี่ยวผลผลิตหอมแบ่งเมื่ออายุได้ 35 วันหลังปลูก เก็บข้อมูลด้านน้ าหนักสด น้ าหนักแห้ง
                       ความเข้มข้น และการสะสม N, P และ K  ในผลผลิต วิเคราะห์ความแตกต่างของข้อมูลในทางสถิติ
                       โดยใช้ F-test
                              การเก็บข้อมูลของผักคะน้า บันทึกข้อมูลด้านน้ าหนักสด และน้ าหนักแห้ง ของผักที่ตัดแต่ง

                       และเศษผัก วิเคราะห์หาความเข้มข้นของ P  และ K ในตัวอย่างผักที่ตัดแต่ง และเศษผัก ค านวณ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32