Page 60 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       44






                                                             บทที่ 4

                                                          ผลการศึกษา


                               สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของอ าเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน มีลักษณะเป็นภูเขาสูง สลับกับเนิน

                       เขา และที่ราบต่ า ทรัพยากรที่ดินนับวันจะขาดแคลน และมีไม่เพียงพอกับจ านวนประชากรที่ต้องการ
                       ใช้ที่ดินเป็นที่ท ากิน นอกจากนั้นที่ดินบางแห่งยังเสื่อมโทรมลงอย่างน่าวิตก เนื่องจากสาเหตุหลาย

                       ประการ เช่น ใช้ที่ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะ ใช้ที่ดินปลูกพืชติดต่อกันมาช้านานและขาดการบ ารุง
                       ดินที่เหมาะสม เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรมบนพื้นที่ลาดชัน มีการปลูกพืชไร่ ซึ่งท าการ

                       แผ้วถางและเผาอยู่เป็นประจ า ท าให้มีผลกระทบต่อการเกิดภาวะโลกร้อน

                       4.1 สภาพปัญหา


                               ก่อนด าเนินงานได้การประชุมชี้แจงเกษตรกรถึงวัตถุประสงค์ของการด าเนินงาน ในพื้นที่
                       บ้านดอนหมู่ที่ 5 ต าบลสวด  อ าเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน โดยให้เกษตรกรในพื้นที่แสดงความ

                       คิดเห็นและเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งสามารถสรุปปัญหาได้ดังนี้

                                     4.1.1 ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน


                                     4.1.2 ปัญหาการเผาเศษพืชในการเตรียมพื้นที่ปลูกพืชในแต่ละปี เพราะเกษตรกร
                       ปลูกพืชไร่เป็นหลัก


                                     4.1.3 ปัญหาขาดแคลนน้ าในช่วงฤดูแล้ง

                               จากปัญหาที่เกษตรกรน าเสนอพบว่า เนื่องจากพื้นที่ เป็นพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาด  จนถึง

                       พื้นที่สูงชัน มีความลาดชัน 12-35 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีฝนตกจะเกิดการชะล้างพังทลายของดิน น้ าจะชะ
                       เอาหน้าดินลงมาท าให้ดินเสื่อมโทรม ตะกอนดินจะไหลลงมาทับถมแหล่งน้ า ท าให้ขาดแคลนน้ า

                       ส าหรับสัตว์เลี้ยงในช่วงแล้ง  เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกข้าวโพดเป็นพืชหลัก การใช้ประโยชน์ที่ดินไม่มี

                       การอนุรักษ์ดินและน้ า แนวทางการแก้ไขปัญหา สถานีพัฒนาที่ดินได้วิเคราะห์ปัญหาของพื้นที่ที่
                       เกษตรกรน าเสนอ จากนั้นวางแผนการด าเนินงาน กิจกรรมหลักคือจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า

                       รองลงมาจะเปลี่ยนระบบปลูกพืชจากพืชไร่เป็นระบบไม้ผล

                       4.2 สถานภาพทรัพยากรดิน

                               ดินส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชุดดิน 62 มีเนื้อที่ 315.20 ไร่ หรือร้อยละ 53.35 ของพื้นที่โครงการ

                       เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชัน

                       มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา ส ารวจและจ าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มี
                       ความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษาส าหรับการเกษตร รองลงมาเป็นกลุ่มชุดดิน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65