Page 24 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     16





                           3.5 การจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ


                             เป็นการจัดหมวดหมู่โดยอาศัยข้อมูลดินที่เกี่ยวข้องกับสมบัติทางกายภาพ ทางเคมีดิน และ
                  สภาพแวดล้อมบางประการที่ได้จากส้ารวจดิน จ้าแนกดินและตรวจสอบดินในสนามและใน
                  ห้องปฏิบัติการ ทั้งนี้การจ้าแนกความเหมาะสมของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ ขึ้นอยู่กับข้อจ้ากัดหรือความ
                  รุนแรงที่มีผลมากสุดต่อพืชที่เกี่ยวข้องกับลักษณะและสมบัติดิน ตลอดจนสภาพแวดล้อมบางประการ
                  เป็นตัวก้าหนดระดับชั้นความเหมาะสมของดินนั้นๆ ว่าจะอยู่ในชั้นความเหมาะสมใด (กองส้ารวจและ

                  จ้าแนกดิน, 2543)
                             1) ชั้นการจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ แบ่งชั้นความเหมาะสม
                  เป็น 5 ชั้น (class) ดังนี้

                                ชั้นความเหมาะสมที่ 1 เป็นชั้นที่มีความเหมาะสมดีมาก (very well suited)
                                ชั้นความเหมาะสมที่ 2 เป็นชั้นที่มีความเหมาะสมดี (well suited)
                                ชั้นความเหมาะสมที่ 3 เป็นชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (moderately suited)
                                ชั้นความเหมาะสมที่ 4 เป็นชั้นที่ไม่ค่อยเหมาะสม (poorly suited)

                                ชั้นความเหมาะสมที่ 5 เป็นชั้นที่ไม่เหมาะสม (unsuited)
                                หมายเหตุ : การจัดชั้นความเหมาะสมของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจตามกลุ่มชุดดินแบ่ง
                  ออกเป็น 3 ชั้น ได้แก่
                                ชั้นที่ 1 เหมาะสม โดยไม่มีข้อจ้ากัด (ชั้นความเหมาะสมที่ 1 เดิม)

                                ชั้นที่ 1 เหมาะสม มีข้อจ้ากัด (ชั้นความเหมาะสมที่ 2 และ 3 เดิม)
                                ชั้นที่ 2 ไม่ค่อยเหมาะสม (ชั้นความเหมาะสมที่ 4 เดิม)
                                ชั้นที่ 3 ไม่เหมาะสม (ชั้นความเหมาะสมที่ 5 เดิม)
                                ข้อควรค้านึงในการจ้าแนกความเหมาะสมของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ คือ การจ้าแนก

                  ความเหมาะสมไม่ได้เป็นการระบุถึงอัตราการให้ผลผลิต พิจารณาพืชที่ปลูกในฤดูฝนเป็นหลัก โดยชั้น
                  ความเหมาะสมของดินแต่ละชั้น (class) มิได้หมายความว่ามีการจัดการหรือมีการดูแลรักษาที่เหมือนกัน
                  เสมอไป ชั้นความเหมาะสมของดินแต่ละชั้นจะมีข้อจ้ากัดปลีกย่อยลงไปอีกหรือที่เรียกว่า ชั้นความ

                  เหมาะสมของดินย่อย (subclass)  และชั้นความเหมาะสมของดินสามารถเปลี่ยนแปลงได้ถ้ามีการ
                  ปรับปรุงแก้ไขข้อจ้ากัดของพืช
                             2) ลักษณะและสมบัติของดินที่ใช้จ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ
                                (1) สภาพภูมิประเทศ (topography : t)
                                (2) เนื้อดิน (soil texture : s)

                                (3) ชั้นดินที่มีการชะล้างรุนแรง (albic horizon : b)
                                (4) ความลึกที่พบชั้นดานแข็งหรือก้อนกรวดมาก (soil depth to consolidated layer  or
                  gravel : c หรือ g)

                                (5) หินพื้นโผล่ (rock out crop : r)
                                (6) ก้อนหินโผล่ (stoniness : z)
                                (7) ความเค็มของดิน (salinity : x)
                                (8) การระบายน้้าของดิน (drainage : d)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29