Page 29 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     21





                  ท้าการวิเคราะห์ดินได้เพียง ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (Soil pH) ค่าคาร์บอนอินทรีย์ (Organic carbon)

                  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available  phosphorus) และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available
                  potassium) โดยมีวิธีการวิเคราะห์ดังนี้
                                      - ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (Soil pH) อัตราส่วนระหว่างดินต่อน้้าเท่ากับ 1 : 1

                  (Peech, 1965) วัดด้วยเครื่อง pH meter
                                   - ค่าคาร์บอนอินทรีย์ (Organic  carbon)  โดยวิธี Walkley  and  Black  titration
                  (Walkley  and  Black,  1947) จากนั้นน้าไปค้านวณหาปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (organic  matter)

                  โดยใช้สูตรดังนี้
                                        Organic matter (%) = % Organic carbon × 1.724
                                      - ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available  phosphorus)  วิเคราะห์ด้วยน้้ายาสกัด
                  Bray II (Bray and Kurt, 1945) จากนั้นน้าสารละลายดินที่สกัดได้ท้าให้เกิดสีด้วยสารละลาย develop สี

                  (working solution) (Watanabe and Olsen, 1965) วัดด้วยเครื่อง Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น
                  882 นาโนเมตร
                                      - โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available  potassium) วิเคราะห์ด้วยน้้ายา
                  สกัด NH OAc 1N ที่เป็นกลาง (pH 7.0) (Pratt, 1965 และ Jackson, 1958) วัดด้วยเครื่อง Flame photometer
                         4
                                   (3.2) ค่าวิเคราะห์ที่อ้างอิงจากคู่มือการก้าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคเหนือ
                  และที่สูงตอนกลางของประเทศไทย จ้าแนกใหม่ตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546  โดยใช้ค่าความจุ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน (Cation exchange capacity : CEC) และอัตราร้อยละความอิ่มตัวเบส (Base

                  saturation percentage : BS) เพื่อประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                                 (4)  ส้ารวจสภาพการใช้ที่ดิน พร้อมทั้งปรับแก้ไขขอบเขตสภาพการใช้ที่ดินลงบน
                  ภาพออร์โธสีให้ถูกต้อง สอดคล้องกับสภาพพื้นที่จริง
                               3) การจัดท้าแผนที่และรายงานการส้ารวจดิน
                                 (1)  ถ่ายทอดขอบเขตดินและหน่วยแผนที่จากการส้ารวจ ด้วยโปรแกรมระบบ

                  สารสนเทศภูมิศาสตร์ลงบนภาพถ่ายออร์โธสีที่ใช้เป็นแผนที่พื้นฐาน เพื่อจัดท้าเป็นแผนที่ดินต้นฉบับ
                                 (2)  ถ่ายทอดขอบเขตสภาพการใช้ที่ดินจากการส้ารวจ ด้วยโปรแกรมระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตร์ลงบนภาพถ่ายออร์โธสีที่ใช้เป็นแผนที่พื้นฐาน เพื่อจัดท้าเป็นแผนที่สภาพการใช้

                  ที่ดินต้นฉบับ
                                 (3) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อก้าหนดขอบเขตการใช้ที่ดินตามศักยภาพของพื้นที่ ความเหมาะสม
                  ของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ และความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์ เพื่อก้าหนดแผนการใช้
                  ที่ดินให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน รวมทั้งข้อเสนอแนะและแนวทางการ

                  แก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า การปรับปรุงบ้ารุงดิน เพื่อให้เป็นประโยชน์
                  ต่อเกษตรกรในพื้นที่
                                 (4) จัดท้าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน และรายงานการส้ารวจดิน มาตราส่วน 1:4,000
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34