Page 21 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     13





                  ตารางที่ 5 ชั้นความรุนแรงของการกร่อน


                    ชั้นการ    สัญลักษณ์                 การเรียกชื่อ               การสูญเสียของชั้นดิน
                     กร่อน                                                               (ร้อยละ*)
                       1           E       ไม่มีการกร่อน (non-eroded)                         0
                                    0
                       2           E       กร่อนเล็กน้อย (slightly eroded)                >0-<25
                                    1
                       3           E       กร่อนปานกลาง (moderately severe                 25-75
                                    2
                                           eroded)
                       4           E       กร่อนรุนแรง (severe eroded)                   >75-<100
                                    3
                       5           E       กร่อนรุนแรงมาก (very severe eroded)              100
                                    4
                  หมายเหตุ :  * ร้อยละการสูญเสียชั้นดิน A  และ/หรือชั้นดิน E  หรือการสูญเสียดินบน 20 ซม. (ถ้าชั้นดิน A  และ/
                              หรือชั้นดิน E ดั้งเดิมมีความหนาน้อยกว่า 20 ซม.)

                                6) ประเภทอื่นๆ (others) ที่อาจพบในหน่วยแผนที่ดิน ได้แก่
                                 (1) การระบายน้้าของดิน (soil  drainage)  มีความหมายเกี่ยวกับความถี่และ
                  ระยะเวลาของช่วงที่ดินเปียก ในสภาพพัฒนาการของดินตามธรรมชาติ จะไม่เน้นระบอบของน้้าในดินที่

                  เกิดขึ้นจากการดัดแปลงโดยมนุษย์ เช่น การระบายน้้าออกหรือการมีการชลประทาน เว้นแต่ว่าจะท้าให้
                  สัณฐานของดินเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากพอ แบ่งได้ 7 ชั้น (เอิบ, 2548)
                                   - การระบายน้้าเลวมาก (very poorly drained : vpd) น้้าเคลื่อนที่ออกจาก

                  ดินได้ช้ามาก ท้าให้มีน้้าอิสระเหลืออยู่ที่ผิวหน้าดินหรือใกล้ผิวหน้าดิน เป็นช่วงเวลาส่วนใหญ่ในฤดูกาล
                  เพาะปลูก พบน้้าอิสระภายในดินระดับตื้นมากเป็นช่วงเวลานานหรือถาวรในช่วงปี
                                   - การระบายน้้าเลว (poorly drained : pd) น้้าเคลื่อนที่ออกจากดินได้ช้ามาก
                  ท้าให้ดินเปียกในระดับตื้นเป็นช่วงๆ ในฤดูกาลเพาะปลูกหรือเปียกเป็นช่วงเวลานาน มักพบน้้าอิสระใน

                  ระดับตื้นหรือตื้นมากในดินแทบตลอดเวลา
                                   - การระบายน้้าค่อนข้างเลว (somewhat poorly drained : spd) น้้าเคลื่อนที่
                  ออกจากดินได้ช้ามีผลให้ดินมีสภาพเปียกในระดับตื้นเป็นช่วงเวลานานในฤดูกาลเพาะปลูก มักพบน้้า
                  อิสระในดินในระดับตื้นถึงค่อนข้างลึกและอาจเปียกถาวรในระดับนี้

                                   - การระบายน้้าดีปานกลาง (moderately well drained : mw) น้้าเคลื่อนที่
                  ออกจากดินได้ค่อนข้างช้าในบางช่วงของปี จะพบน้้าอิสระได้ในระดับค่อนข้างลึกและอาจเปียกถาวรใน
                  ระดับดังกล่าวหรือมีการอิ่มตัวด้วยน้้าในช่วงสั้นๆ ท้าให้เกิดจุดประสีเด่นชัดภายในความลึก 100
                  เซนติเมตรจากผิวดิน

                                   - การระบายน้้าดี (well drained : wd) น้้าเคลื่อนที่ออกจากดินได้ง่ายและไม่
                  เร็วนัก น้้าอิสระภายในดินอาจพบได้ในระดับลึกถึงลึกมากในบางช่วงของปี พืชจะมีน้้าที่เป็นประโยชน์
                  ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกและความเปียกไม่เป็นปัญหาต่อการปลูกพืชในที่ดิน

                                   - การระบายน้้าค่อนข้างมากเกินไป (somewhat excessively drained : sex)
                  น้้าเคลื่อนที่ออกจากดินได้เร็ว มักไม่พบน้้าอิสระภายในดินหรือพบเฉพาะในระดับลึกมาก ดินมักมีเนื้อหยาบ
                  และมีการน้าน้้าอิ่มตัวสูงหรือเป็นดินตื้นมาก
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26