Page 25 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     17





                                (9) อันตรายจากการถูกน้้าท่วม (flooding : f)

                                (10) อันตรายจากน้้าแช่ขัง (water logging : w)
                                (11) ความเสี่ยงต่อการขาดน้้า (risk of moisture shortage : m)
                                (12) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (nutrient status : n)

                                (13) ปฏิกิริยาดิน (acidity : a, alkalinity : k)
                                (14) ความลึกที่พบชั้นดินกรดก้ามะถัน (depth to acid sulfate layer : j)
                                (15) การกร่อนของดิน (soil erosion : e)
                                (16) ความหนาของชั้นดินอินทรีย์ (thickness of organic horizon : o)
                             ชั้นความเหมาะสมของดินแต่ละชั้น ยกเว้นชั้นความเหมาะสมที่ 1 จะระบุลักษณะและ

                  คุณสมบัติของดินที่มีผลต่อการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบต่อผลผลิตของพืชที่ปลูก ลักษณะของดินที่
                  ระบุไว้ในชั้นความเหมาะสมของดินส้าหรับปลูกพืชแต่ละชั้น เรียกว่า ข้อจ้ากัด (limitation) ซึ่งเมื่อทราบ
                  ว่าชุดดินนั้นมีลักษณะใดที่เป็นข้อจ้ากัดที่รุนแรงที่สุดที่จะเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตหรือมี

                  ผลกระทบต่อผลผลิตของพืช ก็จะตกอยู่ในชั้นความเหมาะสมนั้น และเมื่อทราบชั้นความเหมาะสมของดิน
                  ส้าหรับการปลูกพืชแล้ว ท้าการจ้าแนกชั้นความเหมาะสมย่อยลงไปอีกหรือที่เราเรียกว่าชั้นความ
                  เหมาะสมของดินย่อย (subclass)  โดยระบุชนิดของข้อจ้ากัดตัวที่รุนแรงที่สุดไว้ท้ายชั้นความเหมาะสม
                  ของชั้นดินหลัก (class) ชนิดของข้อจ้ากัดหรือลักษณะของดินที่เป็นอันตราย หรือท้าความเสียหายกับพืช

                           3.6 การจ าแนกความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์

                             เป็นการวินิจฉัยคุณภาพของดินตามข้อจ้ากัดของดิน โดยจัดความเหมาะสมของดินใน

                  หลายกิจกรรม ตามข้อจ้ากัดของดิน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนและข้อควรระวังในการ
                  ปฏิบัติงาน (สุวณี, 2538)
                               1) ชั้นการจ าแนกความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์
                                 (1) ความเหมาะสมของดินส้าหรับใช้เป็นแหล่งหน้าดิน แหล่งทรายและกรวด ดินถม

                  หรือดินคันทาง และเส้นทางแนวถนน โดยจ้าแนกชั้นความเหมาะสมของดินออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้
                                      1     หมายถึง   เหมาะสมดี
                                      2     หมายถึง   เหมาะสมปานกลาง
                                      3     หมายถึง   ไม่เหมาะสม

                                      4     หมายถึง   ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง
                                 (2) ความเหมาะสมของดินส้าหรับใช้ท้าบ่อขุด อ่างเก็บน้้าขนาดเล็ก คันกั้นน้้า บ่อเกรอะ
                  โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก อาคารต่้าๆ และการใช้ยานพาหนะในช่วงฤดูฝน โดยจ้าแนกชั้นความ

                  เหมาะสมของดินออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
                                      1     หมายถึง   เหมาะสมดี
                                      2     หมายถึง   เหมาะสมปานกลาง
                                      3     หมายถึง   ไม่เหมาะสม
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30