Page 28 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     20





                             6.2.2 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่ด าเนินการ ในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าน้ า

                  แม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา
                               1) การเตรียมข้อมูลในส้านักงาน
                                 (1)  รวบรวมข้อมูลทั่วไป เช่น ที่ตั้งและอาณาเขต แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ธรณีวิทยา

                  ภาพถ่ายออร์โธสี (มาตราส่วน 1:4,000) แบบจ้าลองระดับสูงเชิงเลข (DEM) เส้นชั้นความสูง (contour) เป็นต้น
                                 (2) วิเคราะห์ข้อมูล (จากการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น) เพื่อใช้วิเคราะห์พื้นที่และความแปรปรวน
                  ของทรัพยากรดิน สภาพการใช้ที่ดิน เพื่อเป็นแนวทางก้าหนดต้นร่างของขอบเขตดิน และหลุมเจาะดิน
                  เพื่อตรวจสอบดินที่เป็นตัวแทน
                               2) การส้ารวจดินภาคสนาม

                                 (1)  ส้ารวจและตรวจสอบดินตามหลุมเจาะที่ก้าหนดไว้ โดยใช้พลั่วเปิดหน้าดินลึก
                  ประมาณ 1 ลูกบาศก์ฟุต แล้วใช้สว่านเจาะดิน ลึกอย่างน้อย 180 เซนติเมตร หรือตื้นกว่าหากพบชั้น
                  ขัดขวาง เช่น หินพื้น ชั้นดาน ชั้นดินแน่นหรือชั้นศิลาแลง เพื่อวินิจฉัยสมบัติของดินแต่ละชั้นตามการ

                  ก้าเนิดดิน เช่น สีดิน เนื้อดิน ความลึกของดิน พีเอชของดิน เป็นต้น รวมทั้งศึกษาสภาพแวดล้อมในพื้นที่
                  นั้นๆ โดยเฉพาะปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางดิน เช่น ลักษณะทางธรณีวิทยา วัตถุต้นก้าเนิดดิน
                  ภูมิสัณฐาน การกร่อนของดิน พืชพรรณธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น
                                 (2) บันทึกข้อมูลการตรวจสอบดินภาคสนาม จ้าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน

                  ของ USDA (United States Department of Agriculture)  ตามรายละเอียดของหนังสือ Keys to
                  Soil Taxonomy (Soil Survey Staff, 2014) และอ้างอิงจากหนังสือการก้าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้ง
                  ในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย จ้าแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (อนิรุทธ์ และคณะ, 2547)
                  การก้าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคใต้และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย จ้าแนก

                  ใหม่ตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (วุฒิชาติ และคณะ, 2547) การก้าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้ง
                  ในภาคกลางของประเทศไทย จ้าแนกใหม่ตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (สถิระ และคณะ, 2547)
                  และการก้าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย จ้าแนกใหม่ตาม
                  ระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (กิติ และคณะ, 2547) เพื่อก้าหนดหน่วยแผนที่ดิน โดยจ้าแนกดินถึงระดับ

                  ชุดดิน (soil series) หรือดินคล้าย (soil variant) ร่วมกับประเภทของดินที่พบ ได้แก่ ประเภทเนื้อดินบน
                  (texture phase) ความลาดชัน (slope phases) ชั้นความลึก (depth) ชั้นของการกร่อน (degree of
                  erosion classes) พร้อมทั้งปรับแก้ขอบเขตดินให้สอดคล้องกับพื้นที่จริง

                                 (3)  ค่าวิเคราะห์ดินได้จากการเก็บตัวอย่างดินในภาคสนาม และน้ามาวิเคราะห์ใน
                  ห้องปฏิบัติการ และค่าวิเคราะห์ที่อ้างอิงจากคู่มือการก้าหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคเหนือและ
                  ที่สูงตอนกลางของประเทศไทย จ้าแนกใหม่ตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (อนิรุทธิ์ และคณะ, 2547)
                  ซึ่งแบ่งค่าที่วิเคราะห์ได้ดังนี้
                                    (3.1) ค่าวิเคราะห์ดินได้จากการเก็บตัวอย่างดินในภาคสนามโดยวิธีการเก็บ

                  ตัวอย่างดินที่ถูกรบกวน (disturbed soil samples) เก็บดินทุกชั้นตามชั้นก้าเนิดดิน (genetic horizon)
                  ที่ได้แบ่งไว้ตลอดหน้าตัดดิน ชั้นละประมาณ 1 - 2 กิโลกรัม จากนั้นน้าผึ่งลมให้แห้ง น้าเศษพืชออก บด
                  และร่อนผ่านตะแกรงขนาด 2 มิลลิเมตร เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมีต่อไป โดยการวิเคราะห์สมบัติดิน

                  ทางเคมีในห้องปฏิบัติการกลุ่มวิเคราะห์ดิน ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 จังหวัดน่าน มีข้อจ้ากัดสามารถ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33