Page 14 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      6





                                   4) ลักษณะของป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมจะเริ่มมีการเปลี่ยนจากป่าผลัดใบเป็นป่าไม่ผลัดใบ

                             พื้นที่สูงในปัจจุบันมีความส้าคัญต่อมนุษย์มาก ทั้งในด้านการใช้ท้าเกษตรกรรม สถานที่
                  ท่องเที่ยว และแหล่งต้นน้้าล้าธาร ปัจจุบันมีการใช้พื้นที่สูงเพื่อท้าการเกษตรเป็นจ้านวนมาก ซึ่งท้าให้เกิด
                  ความเสื่อมโทรมกับดินในพื้นที่สูงเองจากการกร่อนดินที่เกิดขึ้นง่ายและรุนแรง และยังก่อให้เกิดความ

                  เสียหายสู่พื้นที่ต่้าที่อยู่ในตอนล่าง เช่น เกิดน้้าท่วม ดินถล่ม ท้าให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
                  (พิบูลย์, 2549) โดยส่วนใหญ่พื้นที่สูงจะเป็นพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งการบุกรุกท้าลายป่าเพื่อใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  ดังกล่าวจะมีผลต่อสมดุลน้้า และเกิดความเสื่อมโทรมทั้งสมบัติทางกายภาพ และเคมีของดิน (บรรณพิชญ์, 2551)

                           3.4 การส ารวจดิน

                             ดิน (soil) หมายถึง อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไม่จับตัวแข็งเป็นหิน ซึ่งปกคลุม
                  พื้นผิวโลก เป็นตัวกลางธรรมชาติส้าหรับการเจริญเติบโตของพืช หรืออินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไม่
                  จับตัวแข็งเป็นหินซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยด้านการก้าเนิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่

                  ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพภูมิประเทศ วัตถุต้นก้าเนิด และระยะเวลา (คณะกรรมการ
                  จัดท้าพจนานุกรมปฐพีวิทยา,  2551)  ท้าให้เกิดดินที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันหลายชนิดปกคลุม
                  พื้นผิวโลกอยู่เป็นชั้นบางๆ เป็นที่ยึดเหนี่ยวเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืช รวมถึงเป็นแหล่งอาหาร

                  น้้า และอากาศ แก่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่อาศัยอยู่ในดินและบนดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
                             ธรณีวิทยา (geology) หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับประวัติของสสารที่
                  เป็นองค์ประกอบของโลกและสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ปรากฏร่องรอยอยู่ในหินต่างๆ
                  (คณะกรรมการจัดท้าพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                             สัณฐานวิทยาดิน (soil morphology) หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงลักษณะ รูปร่างของหน้า
                  ตัดดิน เช่น สีดิน จุดประ เนื้อดิน โครงสร้างดิน การยึดตัวของดิน คราบดินเหนียว วัตถุต้นก้าเนิดดิน
                  การเรียงตัวของชั้นดิน ซึ่งสามารถสังเกตและตรวจสอบได้ทั้งในสนามและห้องปฏิบัติการ
                  (คณะกรรมการจัดท้าพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                             การส ารวจดิน (soil  survey)  หมายถึง การส้ารวจหาข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของดิน
                  ตลอดจนสภาพแวดล้อม โดยวิธีการทางสนามและห้องปฏิบัติการแล้วน้ามาบันทึกในรูปของแผนที่และ
                  รายงาน (ส้านักส้ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน,  2551) ข้อมูลและข้อสนเทศต่างๆ ที่ได้มาจากการ
                  ส้ารวจดินนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่นักวิทยาศาสตร์ทุกคนยอมรับว่าสามารถน้าเอาไปใช้ในกิจกรรมสาขา

                  ต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางการเกษตรกรรม (ภูษิต, 2551) ส้าหรับประเทศ
                  ไทยได้แบ่งการส้ารวจและท้าแผนที่ดินออกเป็น 6 ระดับ (ภูษิต, 2551; ส้านักส้ารวจดินและวางแผนการ
                  ใช้ที่ดิน, 2551) คือ

                                   1) การส้ารวจดินแบบหยาบมากหรือแบบกว้าง (exploratory  survey)  เป็นการ
                  ส้ารวจดินเพื่อใช้ข้อมูลในการวางแผนระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศ และใช้เป็นแนวทางในการ
                  วางแผนการศึกษาขั้นละเอียดต่อไป แผนที่ที่ใช้ในการส้ารวจดินในสนามมีมาตราส่วน 1:250,000  ถึง
                  1:1,000,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพร่มีมาตราส่วน 1:1,000,000 หรือมาตราส่วนเล็กกว่า ขอบเขต
                  ของดินแต่ละหน่วยที่แสดงไว้ในแผนที่ดิน อาศัยการแปลภาพถ่ายทางอากาศหรือภาพจากดาวเทียม โดย

                  ใช้ข้อมูลพื้นฐานและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดดินเป็นแนวทาง เช่น ข้อมูลทางธรณีวิทยา ธรณี
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19