Page 10 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 10
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
ดังนั้น กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดินร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินพะเยา ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7
ได้คัดเลือกพื้นที่ด้าเนินการ บ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ต้าบลแม่สุก อ้าเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8
ต้าบลบ้านใหม่ อ้าเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา มีเนื้อที่ 234,590 ไร่ ซึ่งอยู่ในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิง
ตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา โดยด้าเนินการส้ารวจ ศึกษาลักษณะและสมบัติของดิน
จ้าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน ส้ารวจสภาพการใช้ที่ดิน ความเหมาะสมของดินส้าหรับพืช
เศรษฐกิจ ความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์และก้าหนดขอบเขตการใช้ที่ดินตามศักยภาพ
ของพื้นที่ เพื่อเป็นฐานข้อมูลส้าหรับใช้ในการวางแผนการใช้ที่ดิน ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา
ทรัพยากรดิน การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า การปรับปรุงบ้ารุงดิน การจัดท้าศูนย์เรียนรู้ด้านการ
พัฒนาที่ดินและกิจกรรมส่งเสริมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาที่ดินในพื้นที่
ดังกล่าวให้มีความสอดคล้องกับพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พุทธศักราช 2551
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบน
เขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา ส้าหรับก้าหนดพื้นที่ด้าเนินการในด้านการพัฒนาที่ดินตาม
สภาพปัญหาของพื้นที่
2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะและสมบัติของดิน จ้าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน
สภาพการใช้ที่ดิน จ้าแนกความเหมาะสมของดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจและความเหมาะสมของดินทางด้าน
ปฐพีกลศาสตร์ในพื้นที่ด้าเนินการ
3. เพื่อจัดท้าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน และรายงานการส้ารวจดินในพื้นที่ด้าเนินการ
ส้าหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการใช้ที่ดิน
3. ตรวจเอกสาร
3.1 การศึกษาและการจัดการพื้นที่ลุ่มน้ า
ลุ่มน้้า (watershed) นักวิชาการได้ให้ค้าจ้ากัดความไว้หลายประการ คือ
บริเวณพื้นที่ที่รับและระบายน้้าโดยนับรวมตั้งแต่บริเวณต้นน้้า (upstream) จนถึงจุดออก
(outlet) หรือปากล้าน้้า (estuary) ดังนั้น การหาพื้นที่หรือขนาดของลุ่มน้้าใดๆ จะมีขนาดเท่ากันหรือ
แตกต่างกันนั้น ขึ้นอยู่กับการก้าหนดจุดออกของลุ่มน้้าเป็นส้าคัญ การประมาณค่าของพื้นที่ลุ่มน้้า ท้าได้
โดยการวัดพื้นที่ซึ่งล้อมรอบโดยสันปันน้้าในแผนที่ภูมิศาสตร์ พื้นที่ลุ่มน้้าตลอดจนลักษณะภูมิประเทศ
สภาพของพืชที่ปกคลุม และลักษณะทางธรณีวิทยาจะมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อปริมาณน้้าท่วม
ลักษณะของน้้าท่วม เป็นต้น (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2558ก)
กรมทรัพยากรน้้า (2551) ให้ค้าจ้ากัดความว่า บริเวณพื้นที่ทั้งหมดที่โอบล้อมแม่น้้าที่น้้าฝน
ตกลงมาในบริเวณพื้นที่แล้วจะระบายลงสู่ล้าห้วยล้าคลองต่างๆ จนในที่สุดไหลออกสู่จุดสุดท้ายที่ก้าหนด
เป็นปากแม่น้้าของลุ่มน้้านั้น ส่วนกรมป่าไม้ (2538) กล่าวว่า ลุ่มน้้า คือ หน่วยของพื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้้า
เป็นพื้นที่รับน้้าฝนของแม่น้้าสายหลักในลุ่มน้้านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้้าจะไหลออกสู่ล้าธารสายย่อยๆ
และรวมกันออกสู่แม่น้้าสายหลัก จนไหลออกปากน้้าในที่สุด