Page 11 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      3





                             ลักษณะการระบายน้้าของระบบล้าน้้าที่ปรากฏอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง อาจมีรูปแบบ

                  เป็นเส้นตรง มุมโค้งและอื่นๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะทางธรณีวิทยา หรือภูมิประเทศบริเวณนั้นๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
                  ขนาดของบริเวณลุ่มน้้า โครงสร้างของหิน ชนิดของหินที่รองรับ สภาวะของภูมิอากาศและสภาพภูมิประเทศ
                  โดยสามารถจ้าแนกรูปแบบการระบายน้้าที่ส้าคัญได้ดังนี้ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2544)

                                   1) รูปแบบทางระบายน้้าแบบกิ่งไม้ (dendritic  drainage  pattern) เป็นลักษณะ
                  โครงข่ายการระบายน้้าที่ล้าน้้าย่อยไหลลงมารวมกันกับล้าน้้าหลัก ดูคล้ายกับกิ่งไม้ หรือแบบเส้นประสาท
                  มักเกิดขึ้นในบริเวณที่มีโครงสร้างหินแบบเดียวกันมีเนื้อหินสมานแน่นเป็นโขดเนินเขาใหญ่น้อย จากการ
                  ดันตัวขึ้นของหินละลาย เกิดเป็นหุบเขาต่อเนื่องเป็นร่องลึกระหว่างเนินเขา ทางระบายน้้าแบบนี้สามารถ
                  ชะลอปริมาณการไหลบ่าของน้้า  มีการกระจายน้้าได้ดี ความสามารถในการกักเก็บน้้า (storage) และ

                  ปลดปล่อยน้้า (discharge) ได้มาก
                                   2) รูปแบบทางน้้าแบบมุมฉาก (trellis drianage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้้า
                  ที่ปรากฏบนลักษณะภูมิประเทศที่เป็นรอยเลื่อน (fault) หรือรอยแยก (joint) ล้าน้้าไหลขนานกันมาตาม

                  แนวรอยเลื่อนและไหลมารวมกันกับล้าธารสายหลักเป็นมุมฉากหรือเกือบฉาก
                                   3) รูปแบบทางน้้าแบบตั้งฉาก (rectangular drainage pattern) เป็นรูปแบบการ
                  ระบายน้้าที่ล้าธารสายย่อยด้วยกันหรือล้าธารสายย่อยกับสายหลักมาสบกันเป็นมุมฉาก นอกจากนี้แนวโค้ง
                  ของล้าน้้าทุกสายในระบบจะเป็นมุมฉากเช่นเดียวกัน และจะมีระยะการหักงอของล้าน้้าเกือบเท่ากัน

                  เนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศ
                                   4) รูปแบบทางน้้าแบบรัศมี (radial drainage pattern) เป็นรูปแบบการระบายน้้า
                  ที่ล้าน้้าสายหลักและล้าน้้าสาขาจะไหลออกไปทุกทิศทางจากที่สูง ตอนกลาง เช่น รูปแบบการระบายน้้า
                  ที่เกิดขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศแบบโดม กรวยภูเขาไฟ หรือเนินเขาที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว

                                   5) รูปแบบทางน้้าแบบขนาน (parallel  drainage  pattern) เป็นรูปแบบการ
                  ระบายน้้าของล้าน้้าสายหลัก และล้าน้้าสาขามีทิศทางการไหลขนานกัน หรือเกือบขนานกันไปในแนว
                  ทิศทางเดียวกันตลอด
                                   6) รูปแบบทางน้้าแบบวงแหวน (annular  drainage  pattern) เป็นรูปแบบการ

                  ระบายน้้าตามแนวระดับ ซึ่งมีทิศทางการไหลของล้าน้้าตามรอยแยกของชั้นหินมีลักษณะเป็นส่วนหนึ่ง
                  ของวงแหวนหรือเกือบเป็นวงแหวน โดยจะไหลไปรวมกันกับล้าน้้าสายหลักเพื่อระบายลงสู่ที่ต่้าต่อไป มักพบ
                  รูปแบบการระบายน้้าแบบนี้บริเวณเชิงเขาของลักษณะภูมิประเทศแบบโดม

                             พื้นที่ลุ่มน้ า หมายถึง หน่วยของพื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้้า เป็นพื้นที่รับน้้าฝนของ
                  แม่น้้าสายหลักในลุ่มน้้านั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุ่มน้้า น้้าจะไหลออกสู่ล้าธารย่อยๆ แล้วรวมกัน
                  ออกสู่ล้าธารสายใหญ่และรวมกันออกแม่น้้าสายหลักจนไหลออกปากน้้าในที่สุด (คณะที่ปรึกษากรม
                  พัฒนาที่ดิน, 2556) พื้นที่ลุ่มน้้าแต่ละแห่งจะมีขนาดไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์และ
                  วัตถุประสงค์ในการจัดแบ่งพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการ (เกษม, 2551)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16