Page 12 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      4





                             ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า หมายถึง การแบ่งเขตพื้นที่ลุ่มน้้าตามลักษณะกายภาพ เพื่อประโยชน์ในการจัดการ

                  ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพในลุ่มน้้านั้นๆ การก้าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้้าจ้าแนกตามมติ
                  คณะรัฐมนตรี (กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2548) แบ่งเป็น 5 ระดับ ประกอบด้วย
                               1) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้้าที่ควรจะต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่

                  ต้นน้้าล้าธารโดยเฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม จากการ
                  เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรงไม่ว่าพื้นที่จะมีป่าหรือไม่มีป่าปกคลุมก็ตาม ในพื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1
                  จะแบ่งออกเป็น 2 ระดับชั้นย่อย คือ
                                 (1) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1A  หมายถึง พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 ที่ยังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์
                  ปรากฏอยู่ในปี พ.ศ.2525 ซึ่งจ้าเป็นจะต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้้าล้าธารและเป็นทรัพยากรป่าไม้

                                 (2) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1B  หมายถึง พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 ซึ่งสภาพป่าส่วนใหญ่ในพื้นที่
                  ได้ถูกท้าลายดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช้ที่ดินรูปแบบอื่น ก่อนหน้าปี พ.ศ.2525 และ
                  การใช้ที่ดินหรือการพัฒนารูปแบบต่างๆ ที่ด้าเนินการไปแล้วจะต้องมีมาตรการควบคุมเป็นพิเศษ

                               2) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 2 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้้าซึ่งมีค่าดัชนีชั้นคุณภาพลุ่มน้้า
                  ที่ลักษณะทั่วไปมีคุณภาพเหมาะต่อการเป็นต้นน้้าล้าธารในระดับรองลงมา และสามารถน้ามาใช้
                  ประโยชน์เพื่อกิจการที่ส้าคัญได้ เช่น การท้าเหมืองแร่ เป็นต้น
                               3) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 3 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้้าที่โดยทั่วไปสามารถใช้ประโยชน์ได้

                  ทั้งกิจกรรมท้าไม้เหมืองแร่และปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น
                               4) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 4 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้้า ซึ่งมีค่าดัชนีคุณภาพของลุ่มน้้า
                  ที่สภาพป่าได้ถูกบุกรุก แผ้วถางเป็นที่ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการพืชไร่เป็นส่วนมาก
                               5) พื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 5 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้้า ลักษณะโดยทั่วไปเป็นที่ราบหรือที่ลุ่ม

                  หรือเนินลาดเอียงเล็กน้อยและส่วนใหญ่ป่าไม้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเพื่อประโยชน์ด้านเกษตรกรรม
                  โดยเฉพาะท้านาและกิจการอื่นๆ ไปแล้ว
                               การจ้าแนกล้าดับพื้นที่ลุ่มน้้า แบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ประกอบด้วย พื้นที่ต้นน้้า พื้นที่กลางน้้า
                  และพื้นที่ปลายน้้า (ค้ารณ, 2552)

                                 - พื้นที่ต้นน้้า เป็นพื้นที่ตั้งแต่สันปันน้้าลงมา ครอบคลุมพื้นที่ที่เป็นต้นก้าเนิดของล้าน้้าหลัก
                  (head water) ทั้งหมด อันดับล้าธาร (strahler) ส่วนใหญ่เป็นอันดับ 1 และอันดับ 2 ในลุ่มน้้าที่สมบูรณ์อาจพบ
                  ล้าธารอันดับ 3 ในบริเวณพื้นที่ต้นน้้า ชั้นคุณภาพลุ่มน้้า ประกอบด้วย ชั้น 1 ชั้น 2 และชั้น 3 เป็นส่วนใหญ่

                  สภาพพื้นที่มีความชัน
                                   - พื้นที่กลางน้้า เป็นพื้นที่อยู่ต่้ากว่าพื้นที่ต้นน้้า มีความลาดชันน้อยกว่าพื้นที่ต้นน้้า
                  อย่างชัดเจนส่งผลถึงการไหลของน้้าในล้าน้้าหลักจะช้าลง ขณะที่ล้าน้้าจะกว้างขึ้น อันดับของล้าธาร จะเป็น
                  อันดับ 2 อันดับ 3 และอาจพบอันดับ 1 บ้าง ชั้นคุณภาพลุ่มน้้าเป็นชั้น 3 และชั้น 4 สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่
                  เป็นพื้นที่ลอนชัน และพื้นที่ลอนลาด

                                 - พื้นที่ปลายน้้า เป็นพื้นที่ส่วนที่เป็นแอ่งรับน้้า (basin) ถึงส่วนที่เป็นปลายสุดของ
                  ล้าน้้าหลัก (main  stream/river  mouth/estuary) หรือปากแม่น้้า ไหลลงสู่แหล่งรับน้้า เช่น แม่น้้า
                  (สายอื่น) บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร เป็นต้น อันดับล้าธาร จะเป็นอันดับ 3 4 5 เป็นต้นไป ชั้นคุณภาพ

                  ลุ่มน้้าเป็นชั้น 4 และชั้น 5 สภาพพื้นที่ของพื้นที่ปลายน้้าค่อนข้างราบเรียบ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17